คลื่นลูกที่สี่ของการศึกษาการทาให้เป็นประชาธิปไตย: จากลิปเซตสู่ไดมอนด์

Main Article Content

Chaiwat Khamchoo
Nithi Nuangjamnong

Abstract

     หนึ่งในหัวข้อหรือประเด็นในกำรศึกษำที่มีควำมเป็นพลวัตและได้รับควำมสนใจมำกที่สุดประเด็นหนึ่งในทำงรัฐศำสตร์และกำรเมืองเปรียบเทียบ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งในยุคหลังสงครำมโลกครั้งที่สองเป็นต้นมำคือกำรศึกษำกำรทำให้เป็นประชำธิปไตย (democratization) นับตั้งแต่บทควำมของเซย์มูร์ มำร์ติน ลิปเซต (Seymour Martin Lipset) ซึ่งตีพิมพ์ในปีค.ศ. 1959 และอำจเรียกได้ว่ำเป็นงำนที่วำงหมุดหมำยสำคัญในกำรศึกษำกำรทำให้เป็นประชำธิปไตย1 จนถึงปัจจุบันนับรวมเวลำได้มำกกว่ำครึ่งศตวรรษ จะเห็นได้ว่ำกระแสควำมนิยมในกำรศึกษำกำรทำให้เป็นประชำธิปไตยไม่ได้ลดลงไปแต่อย่ำงใด หำกแต่ได้มีกำรทดสอบสมมติฐำน ต่อยอดข้อถกเถียง และพัฒนำกรอบแนวคิดใหม่ๆสำหรับกำรอธิบำยกระบวนกำรทำให้เป็นประชำธิปไตยมำอย่ำงต่อเนื่อง


     บทควำมชิ้นนี้จะทำกำรทบทวนภำพรวมของข้อถกเถียงเรื่องกำรทำให้เป็นประชำธิปไตยนับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยจะนับเอำงำนของลิปเซตเป็นจุดเริ่มต้น ข้อถกเถียงหลักของบทควำมชิ้นนี้คือ ในปัจจุบันกำรถกเถียงเรื่องกำรทำให้เป็นประชำธิปไตยกำลังก้ำวเข้ำสู่ “คลื่นลูกที่สี่” 2 คลื่นลูกที่หนึ่งของกำรถกเถียงเริ่มต้นจำกงำนของลิปเซตและทำให้เกิดแนวกำรศึกษำบนฐำนของ “เงื่อนไขของกำรพัฒนำประชำธิปไตย” สำหรับกำรศึกษำในคลื่นลูกที่หนึ่งนี้เป็นที่น่ำสนใจว่ำ แม้ว่ำจะมีจุดเริ่มตั้งแต่ปีค.ศ. 1959 แต่นับจนถึงปัจจุบันยังคงมีงำนที่พยำยำมทดสอบและปรับปรุงสมมติฐำนที่เคยศึกษำมำตั้งแต่ต้น สำหรับคลื่นลูกที่สองได้เริ่มก่อตัวขึ้นในค.ศ. 1970จำกงำนของดังค์วำร์ต รัสเทำว์ (Dankwart Rustow) ในบทควำมชื่อ “Transitions to Democracy”3และได้รับควำมนิยมสูงสุดในช่วงทศวรรษที่ 1980 จำกงำนในชุดที่ร่วมกันเป็นบรรณำธิกำรของกิลเยโม โอดอนเนลล์ (Guillermo O’Donnell) ฟิลลิป ชมิตเตอร์ (Philippe Schmitter) และลอเรนซ์ ไวท์เฮด (Laurence Whitehead) ที่ศึกษำกำรเปลี่ยนผ่ำนจำกเผด็จกำรอำนำจนิยมในละตินอเมริกำและยุโรปใต้4 ในภำพรวมอำจเรียกข้อถกเถียงในระลอกที่สองได้ว่ำเป็นข้อถกเถียงเกี่ยวกับ “กำรเปลี่ยนผ่ำนไปสู่ประชำธิปไตย


     สำหรับข้อถกเถียงในระลอกที่สำม ซึ่งอำจเรียกได้ว่ำเป็นข้อถกเถียงเกี่ยวกับ “กำรสร้ำงควำมมั่นคงและยั่งยืนให้กับประชำธิปไตย” (democratic consolidation) ได้ก่อตัวขึ้นในช่วงปลำยทศวรรษที่ 1980 และได้รับควำมนิยมสูงสุดตลอดช่วงทศวรรษที่ 1990 และยังคงได้รับกำรศึกษำมำจนถึงปัจจุบัน โดยมีนักวิชำกำรที่เป็นคนจุดประกำยอำทิฮวน ลินซ์ (Juan Linz) และอัลเฟรด สเตฟำน (Alfred Stepan) และได้รับกำรต่อยอดโดยลำร์รี ไดมอนด์ (Larry Diamond) ในส่วนของข้อถกเถียงระลอกที่สี่ที่กำลังได้รับควำมนิยมอยู่ในปัจจุบันนี้สำมำรถจำแนกข้อถกเถียงได้เป็นสองส่วนที่เกี่ยวพันกัน ได้แก่ส่วนแรกเป็นข้อถกเถียงที่เกี่ยวเนื่องกับ “คุณภำพประชำธิปไตย” (quality of democracy) ซึ่งในแง่หนึ่งอำจมองได้ว่ำเป็นควำมต่อเนื่องหรือกำรต่อยอดมำจำกข้อถกเถียงเรื่องกำรสร้ำงควำมมั่นคงและยั่งยืนให้กับประชำธิปไตย และส่วนที่สองเป็นข้อถกเถียงที่เกี่ยวเนื่องกับกำรสร้ำงประชำธิปไตยจำกภำยนอก หรือกำรสนับสนุนประชำธิปไตย (democratic promotion) โดยกลุ่มนักวิชำกำรที่ขับเคลื่อนข้อถกเถียงระลอกที่สี่นั้นส่วนหนึ่งเป็นนักวิชำกำรที่เกี่ยวเนื่องกับข้อถกเถียงระลอกที่สำม ตัวอย่ำงของนักวิชำกำรคนสำคัญคือลำร์รี ไดมอนด์


     บทควำมชิ้นนี้จะจัดลำดับกำรนำเสนอออกเป็นสี่ส่วนตำมระลอกคลื่นของข้อถกเถียง โดยในแต่ละส่วนนอกจำกจะกล่ำวถึงข้อถกเถียงในภำพรวม พัฒนำกำร และกำรคลี่คลำย ยังจะพยำยำมเชื่อมโยงให้เห็นถึงบริบทที่แวดล้อมข้อถกเถียงอีกด้วย พร้อมกับยกตัวอย่ำงงำนวิชำกำรชิ้นสำคัญที่จุดประกำยให้เกิดกำรถกเถียงในแต่ละรอบ ทั้งนี้ในกำรกล่ำวถึงข้อถกเถียงในแต่ละระลอกบทควำมชิ้นนี้จะไม่ทำกำรประเมินในเชิงคุณค่ำว่ำข้อถกเถียงใดให้ภำพคำอธิบำยถึงกำรทำให้เป็นประชำธิปไตยได้ดีกว่ำกัน

Article Details

How to Cite
khamchoo, chaiwat ., & nuangjamnong, nithi . (2020). คลื่นลูกที่สี่ของการศึกษาการทาให้เป็นประชาธิปไตย: จากลิปเซตสู่ไดมอนด์. King Prajadhipok’s Institute Journal, 10(1). Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/kpi_journal/article/view/244384
Section
Original Articles