องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการพัฒนาความเป็นพลเมืองเพื่อปฏิรูปประเทศไทย
Main Article Content
Abstract
ปัจจุบัน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความสาคัญต่อการพัฒนาความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยอย่างยิ่ง เนื่องจากบทบาทที่สาคัญขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประการหนึ่งคือการสร้างสานึกความเป็นพลเมือง
บทความชิ้นนี้ แบ่งการนาเสนอออกเป็น 4 ส่วน ประกอบด้วย ส่วนแรก เป็นการพิจารณาคุณลักษณะของพลเมืองในสังคมประชาธิปไตยในเชิงทฤษฎี ส่วนที่สอง นาเสนอมุมมองของบุคคลที่ทางานในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งในฐานะผู้บริหาร สมาชิกสภา และพนักงานข้าราชการ เกี่ยวกับคุณลักษณะของพลเมืองในสังคมประชาธิปไตย ซึ่งประมวลมาจากการระดมความคิดเห็น (focus group) ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เข้าร่วมสมัชชาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อการปฏิรูประดับพื้นที่ซึ่งได้มีการจัดขึ้นใน 4 ภูมิภาค รวม 13 เวทีทั่วประเทศ ในช่วงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ พ.ศ.2555 ส่วนที่สาม เป็นการอภิปรายมุมมองที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรมีต่อพลเมืองในท้องถิ่นของตนเอง ส่วนที่สี่ เป็นข้อเสนอบทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการส่งเสริมการสร้างความเป็นพลเมืองในสังคมประชาธิปไตย ซึ่งสามารถสรุปบทบาทที่สาคัญได้เป็น 3 ประการ คือ (1) การเปิดกลไกการทางานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมอย่างกว้างขวาง (2) การเป็นแกนประสานและหนุนเสริมกระบวนการสร้างสานึกความเป็นพลเมืองในสังคมประชาธิปไตยร่วมกับสถาบันการศึกษา และภาคส่วนอื่นๆ ในพื้นที่ที่เกี่ยวข้อง และ (3) การให้คาปรึกษาและสนับสนุนการเคลื่อนไหวของภาคประชาชนในท้องถิ่นเพื่อขับเคลื่อนการปฏิรูปกฎหมายเพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน
Article Details
@ 2020 King Prajadhipok's Institute The Government Complex Commemorating All Right Reserved.
References
ธเนศวร์ เจริญเมือง. 2551. พลเมืองเข้มแข็ง. กรุงเทพฯ: วิภาษา.
ถวิลวดี บุรีกุล. 2554. “การเมืองเรื่องการเลือกตั้งและปัจจัยสำคัญต่อการตัดสินใจเลือกพรรคการเมืองและผู้สมัคร: วิเคราะห์จากการเลือกตั้ง 3 ก.ค. 2554.” วารสารสถาบันพระปกเกล้า 9 (2): 5-28.
ถวิลวดี บุรีกุลและสติธร ธนานิธิโชติ. 2546. รายงานวิจัยเรื่องการวัดระดับความเป็นประชาธิปไตยและพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า.
ปริญญา เทวานฤมิตรกุล. 2552. การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง (Civic Education): พัฒนาการเมืองไทยโดยสร้างประชาธิปไตยที่ “คน.” สืบค้นเมื่อ 27 มกราคม 2555 จาก http://fnfthailand.org/node/84
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
วีระศักดิ์ เครือเทพ. 2548. นวัตกรรมสร้างสรรค์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
สถาบันพระปกเกล้า. 2547. การตรวจสอบโดยประชาชน: การวัดระดับการให้บริการสาธารณะ (People’s Audit). นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า.
สถาบันพระปกเกล้า. 2553. รางวัลพระปกเกล้า 2553. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า.
สถาบันพระปกเกล้า. 2554ก. มองอดีตแลอนาคต: วัดระดับความเชื่อมั่นของประชาชนต่อสถาบันต่างๆ และความพึงพอใจต่อการบริการของรัฐ พ.ศ. 2546-2553. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
สถาบันพระปกเกล้า. 2554ข. รางวัลพระปกเกล้า 2554. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า.
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน. 2548. "สภาเมือง" บันไดก้าวสำคัญสู่ "เมืองหมอแคนดินแดนน่าอยู่." สืบค้นเมื่อ 27 มกราคม 2555 จาก http://www.codi.or.th/webcodi/index.php?option=com_ content&task=view&id=125&Itemid=41
สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. 2554. สรุปข้อมูลสถิติการใช้สิทธิเลือกตั้ง ส.ส. 3 กรกฎาคม 2554. สืบค้นเมื่อ 6 มกราคม 2555 จาก http://www.ect.go.th/newweb/th/election/index4.php.
สำนักงานปฏิรูป. 2555. มติ 4 การปฏิรูประบบการเมือง: พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรูปประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 10 เมษายน 2555 จาก http://reform.or.th/sites/default/files/ smachchaaptiruup2-mti4-kaaremuueng.pdf
อรทัย ก๊กผล, 2546. Best Practices ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า.
เอนก เหล่าธรรมทัศน์. 2545. การเมืองของพลเมือง. กรุงเทพฯ: คบไฟ.
เอนก เหล่าธรรมทัศน์. 2552. แปรถิ่น เปลี่ยนฐาน: สร้างการปกครองท้องถิ่นให้เป็นรากฐานของประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อุดม ทุมโฆษิต. 2550. การปกครองท้องถิ่นสมัยใหม่: บทเรียนจากประเทศพัฒนาแล้ว. กรุงเทพฯ: โครงการเอกสารและตารา คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
Albritton, Robert B., and Thawilwadee Bureekul. 2008. “Developing Democracy under a New Constitution in Thailand.” In How East Asians View Democracy, ed. Yun-Han Chu et al. New York: Columbia University Press.
Almond, Gabriel, and Sidney Verba. 1989. The Civic Culture: Political Attitudes and Democracy in Five Nations. Newbury Park, CA: Sage Publication.
Barber, B.R. 1984. Strong Democracy: Participatory Politics for a New Age. Berkeley: University of California Press.
Barelson, B.R., Lazarsfield P.F., and McPhee W.N. 1954. Voting: A Study of Opinion Formation in a Presidential Campaign. Chicago: University of Chicago Press.
Carthew, Alastair. 2010. Thaksin’s Twitter Revolution: How the Red Shirts Protests Increase the Use of Social Media in Thailand. In Social Media and Politics: Online Social Networking and Political Communication in Asia, ed. Philip Behnke. Singapore: Konrad-Adenauer-Stiftung.
Chairat Charoensin-o-larn. 2010. “Thailand in 2009: Unusual Politics Becomes Usual.” Southeast Asian Affairs, (2010): 302-331.
Chu, Yun-Han, Andrew Nathan, and Doh Chull Shin. 2008 “Introduction: Comparative Perspectives on Democratic Legitimacy in East Asia.” In How East Asians View Democracy, ed. Yun-Han Chu et al. New York: Columbia University Press.
Conover, P.J., Crewe I.M., and Searing D.D. 1991. “The Nature of Citizenship in the United States and Great Britain: Empirical Comments on Theoretical Themes.” Journal of Politics, 53: 800-32.
Crick, Bernard. 2000. Essays on Citizenship. London: Continuum.
Dahl, Robert A. and Edword R. Tufte. 1973. Size and Democracy. Stanford: Stanford University Press.
Faulks, Keith. 2000. Citizenship (Key Ideas). London: Routledge.
Gerston, Larry N. 2002. Public Policymaking in a Democratic Society: A Guide to Civic Engagement. New York: Center for Civic Education.
Mill, John Stuart. 1991. Considerations on Representative Government. Retrieved December 30, 2011, from http://www2.hn.psu.edu/faculty/jmanis/jsmill/considerations.pdf.
Ockey, James. 2009. Thailand in 2008: Democracy and Street Politics. Southeast Asian Affairs, 2009: 315-333.
Pearce, Jenny. 2010. “Conclusion: Participation as a Field of Study and Practice: A Modest Contribution.” In Participation and Democracy in the Twenty-first Century City, ed. Jenny Pearce. London: Palgrave Macmillan.
Pearce, Joseph. 2001. Small is Still Beautiful. London: Harper Collins.
Poowin Bunyavejchewin. 2010. “Internet Politics: Internet as a Political Tool in Thailand.” Canadian Social Science, 6 (3): 67-72.
Potter, John. 2002. Active Citizenship in Schools: A Good-Practice Guide to Developing a Whole-School Policy. London: Routledge.
Stithorn Thananithichot. 2554. Progress (?) In Quantity, Quality, and Equality of Citizen Participation in the Momentous Decade of Thai Democracy. Paper presented at the 12th National Conference on Political Science and Public Administration, 8-9 December 2011, Chiangmai, Thailand.
Thaweesak Koanantakool. 2007. Important Internet Statistics of Thailand. Retrieved December 30, 2011, from http://internet.nectec.or.th/document/pdf/20070824_Important_Intenet_Statistics_of_Thailand.pdf
Thitinan Pongsudhirak. 2008. “Thailand Since the Coup.” Journal of Democracy, 19 (4): 140-153.
Thompson, D.F. 1970. The Democratic Citizen. London: Cambridge University Press.