สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ กับการทรงงานด้านสิทธิมนุษยชน
Main Article Content
Abstract
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ได้ทรงงานด้านสิทธิมนุษยชน และทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจต่างๆ จานวนมากมาอย่างต่อเนื่อง ทั้งในฐานะพระบรมราชินีนาถ และในฐานะที่ทรงดารงตาแหน่งสภานายิกาสภากาชาดไทย ทรงส่งเสริมคุณภาพชีวิต อาชีพ ความเป็นอยู่ของบุคคลผู้ยากไร้ และประชาชนในชนบทห่างไกล รวมถึงผู้ลี้ภัยจากประเทศเพื่อนบ้านที่เข้ามาพักอาศัยในค่ายอพยพตามแนวชายแดน การให้ความช่วยเหลือ โดยไม่คานึงถึงเชื้อชาติ ศาสนา ความเชื่อทางการเมือง และเผ่าพันธุ์ พระองค์ได้โดยเสด็จพระราชดาเนินพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไปทั่วทุกหนแห่งบนผืนแผ่นดินไทย พระราชกรณียกิจเหล่านี้ นับเป็นส่วนหนึ่งของการทรงงานด้านสิทธิมนุษยชน นั่นคือ “การให้ความสาคัญกับสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน ในศักดิ์ศรีและคุณค่าของมนุษย์ การมุ่งมั่นที่จะส่งเสริมความก้าวหน้าทางสังคมและมาตรฐานแห่งชีวิตที่ดีขึ้น” ผลจากการทรงงานดังกล่าว ได้เป็นที่ประจักษ์ในประชาคมโลก จนทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายรางวัล และปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขามนุษยธรรม จากหลายสถาบัน
Article Details
@ 2020 King Prajadhipok's Institute The Government Complex Commemorating All Right Reserved.
References
กรมประชาสัมพันธ์. (๒๕๔๗). สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ขัตติยราชนารีศรีผไท. กรุงเทพฯ: กรมประชาสัมพันธ์ สำนักนายกรัฐมนตรี.
กระทรวงการต่างประเทศ. สิทธิมนุษยชน Human Rights. [ออนไลน์]. ๒๕๕๔. แหล่งที่มา: http://www.mfa.go.th/humanrights/index.php?option=com_content&view=article&id=87&Itemid=55 [๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๕].
คมชัดลึก. พระราชินีทรงห่วงผู้อพยพจากภัยสู้รบ. (๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๔)[ออนไลน์]. ๒๕๕๔. แหล่งที่มา: http://www.komchadluek.net/detail/20110209/88358/พระราชินีทรงห่วงผู้อพยพจากภัยสู้รบ.html[๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๕].
ชูมาน ถิระกิจ. (๒๕๔๗, กรกฎาคม -ธันวาคม). เย็นศิระเพราะพระบารมีปกเกล้าปกกระหม่อม. โดมทัศน์. ๒๕ (๒), หน้า๙-๑๐.
แถมสิน รัตนพันธุ์.๒๕๔๙. ใกล้เบื้องพระยุคลบาท.พิมพ์ครั้งที่ ๒๕. กรุงเทพฯ: ร่วมด้วยช่วยกัน.
ไทยรัฐ. นายทหารอเมริกันอดีตผู้อพยพเขาล้านสุดปลื้ม น ้าพระราชหฤทัยสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ. [ออนไลน์]. ๒๕๕๔. แหล่งที่มา: http://www.thairath.co.th/content/life/272623[๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๕].
ณพล บุณทับ, พลเอก. ๒๕๔๘.พระราชภารกิจใน 3จังหวัดชายแดนภาคใต้ในเรื่องเล่าของ พลเอกณพล บุณทับ รองสมุหราชองครักษ์, หนังสือ พระราชินีของเรา เรื่องเล่าจากแผ่นดินใต้ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๔๘ อ้างถึงใน [ออนไลน์]. ๒๕๔๘. แหล่งที่มา: http://queen.kapook.com/queen_activity03.php [๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๕].
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน. มปป. ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน Universal Declaration of Human Rights. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท..
ประกาศ วัชราภรณ์. ๒๕๕๐. เสด็จฯ เยือน ๑๔ ประเทศ.พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ:อมรินทร์.
วิกิพีเดีย. สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ[ออนไลน์]. ๒๕๕๕. แหล่งที่มา: http://th.wikipedia.org/wiki/Queen_sirikit[๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๕].
ประไพพรรณ จารุทวี. (๒๕๔๗, กรกฎาคม -ธันวาคม). โลกซ้องสดุดี. โดมทัศน์. ๒๕ (๒), หน้า๑๘-๒๔.
มูลนิธิ ๕ ธันวามหาราช. สภานายิกาสภากาชาดไทย[ออนไลน์]. ๒๕๕๕ก. แหล่งที่มา: http://www.belovedqueen.com/index.php?option=com_content&view=article&catid=6%3A2009-07-06-07-52-55&id=42%3A2009-07-06-09-35-16&Itemid=3[๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๕].
มูลนิธิ ๕ ธันวามหาราช. ศูนย์ราชการุณย์[ออนไลน์]. ๒๕๕๕ข. แหล่งที่มา: http://www.belovedqueen.com/index.php?option=com_content&view=article&catid=6%3A2009-07-06-07-52-55&id=44%3A2009-07-06-09-36-56&Itemid=3 [๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๕]
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐
วสิษฐ เดชกุญชร. ๒๕๔๙. รอยพระยุคลบาท.พิมพ์ครั้งที่ ๖. กรุงเทพฯ : มติชน.
สภากาชาดไทย. หลักการกาชาด[ออนไลน์]. ๒๕๕๓. แหล่งที่มา: http://www.redcross.or.th/principles[๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๕].
สภากาชาดไทย.(๒๕๕๓, ๑๒ สิงหาคม). ๗๘ พรรษาสมเด็จองค์สภานายิกาสภากาชาดไทย.กาชาดสัมพันธ์ฉบับพิเศษ. ๑(๓), หน้า ๓.
สำนักข่าวเจ้าพระยา. “สมเด็จพระราชินีฯ” พระราชทานสัมภาษณ์แก่ผู้สื่อข่าว[ออนไลน์]. ๒๕๕๕. แหล่งที่มา: http://www.chaoprayanews.com/2012/05/08/99-89/[๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๕].
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ๒๕๕๔. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบเอ็ด พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติสำนักนายกรัฐมนตรี.
สำนักงานบรรเทาทุกข์และประชานามัยพิทักษ์. ภารกิจสำนักงานบรรเทาทุกข์และประชานามัยพิทักษ์. [ออนไลน์]. ๒๕๔๒. แหล่งที่มา: http://www.rtrc.in.th/ewt_news.php?nid=187 [๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๕].
สำนักงานประสานงานองค์การภาคีสหประชาชาติประจำประเทศไทยและสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ. ๒๕๕๑. ศักดิ์ศรีและความยุติธรรมสำหรับทุกคนเสียงของเราที่ได้ยินบนแผ่นดินไทย. กรุงเทพฯ: คีนมีเดีย (ประเทศไทย).
www.belovedqueen.com. ศูนย์สภากาชาดไทย บ้านเขาล้าน จังหวัดตราด[ออนไลน์]. ๒๕๕๒. แหล่งที่มา: http://queen.kapook.com/queen_other12.php [๑๖ กรกฎาคม ๒๕๕๕].