ปัญหาในกระบวนการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นเทศบาลตาบล

Main Article Content

Sunthonchai Chopyot

Abstract

     การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาในกระบวนการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นเทศบาลตาบลโดยใช้การศึกษาเชิงคุณภาพด้วยการศึกษาเอกสาร การสังเกตและการสัมภาษณ์เชิงลึก จากข้าราชการส่วนกลาง-ส่วนภูมิภาค กลุ่มนักการเมืองท้องถิ่น ข้าราชการท้องถิ่นและกลุ่มประชาชนในเทศบาลตาบล 2 แห่งในจังหวัดขอนแก่น ผลการศึกษาพบว่า ปัญหาในการเปลี่ยนแปลงฐานะจากอบต.เป็นเทศบาลตาบล คือ 1) ปัญหาที่เกิดจากรัฐ เช่น ความไม่ชัดเจนในตัวหลักเกณฑ์ในการยกฐานะ ปัญหาของการดาเนินงานของราชการส่วนภูมิภาค 2) ปัญหาที่เกิดจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและอปท.ในพื้นที่ใกล้เคียง เช่น การขาดความร่วมมือของอปท.ที่มีอาณาเขตติดต่อกันในการตรวจแนวเขตการปกครอง 3) ปัญหาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นเทศบาลตาบลเช่น การไม่ทาการสารวจความเห็นจากประชาชน การแสดงให้เห็นถึงความต้องการของนักการเมืองท้องถิ่นมากกว่าประชาชน รวมถึงความไม่ชัดเจนในการสื่อสารเรื่องข้อกาหนดในการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการเปลี่ยนแปลงฐานะ 4) ปัญหาทางการเมืองในกระบวนการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นเทศบาลตาบลเช่น การใช้อานาจลงนามของนักการเมืองระดับชาติเพื่อแสวงหาประโยชน์ทางการเมือง การใช้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นฐานเสียงของการเมืองระดับชาติ ทั้งนี้ผู้วิจัยขอเสนอข้อพิจารณาในการเปลี่ยนแปลงฐานะดังนี้1) ภาครัฐเองควรมีความชัดเจนในเรื่องแนวทางปฏิบัติและหลักเกณฑ์ในการยกฐานะเป็นเทศบาลตาบล 2) การสร้างความร่วมมือกับองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนฐานะ 3)ควรมีการกาหนดให้มีการวางแผนพัฒนาเทศบาลในระยะยาวเพื่อสร้างความเข้าใจแก่ประชาชน 4)การสร้างเวทีให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นเทศบาลตาบลอย่างกว้างขวาง

Article Details

How to Cite
chopyot, sunthonchai . (2020). ปัญหาในกระบวนการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นเทศบาลตาบล. King Prajadhipok’s Institute Journal, 10(2). Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/kpi_journal/article/view/244392
Section
Original Articles

References

กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น. 2551.รายงานประจาปี 2551. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจำกัด.

กำนันตำบล ข. กานัน. 2554 (5 กรกฎาคม). การสัมภาษณ์.

โกวิทย์ พวงงาม.2552. การปกครองท้องถิ่นไทยหลักการและมิติใหม่ในอนาคต. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพมหานคร : วิญญูชน.

ข้าราชการระดับจังหวัด. นักส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. 2555. (1 กุมภาพันธ์). การสัมภาษณ์.

ข้าราชการกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น(1). นักส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. 2555. (6 กุมภาพันธ์). การสัมภาษณ์.

ข้าราชการกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น(2). นักส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. 2555. (6 กุมภาพันธ์). การสัมภาษณ์.

ชยาวุธ จันทร, เยาวลักษณ์ กุลพานิชและชุลีพร เดชขา. 2543. วิวัฒนาการการปกครองท้องถิ่นไทย. กรุงเทพฯ : หจก.น่ากังการพิมพ์

ชาย โพธิสิตา. ศาสตร์และศิลป์แห่งการวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนพับลิชชิ่ง.

นครินทร์ เมฆไตรรัตน์. 2542. ปรีดี พนมยงค์กับการปกครองท้องถิ่นไทย ใน วารสารธรรมศาสตร์, ปีที่ 25 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2542.

นายกเทศมนตรีเทศบาลตาบล ข. นายกเทศมนตรี. 2554 (6 กรกฎาคม). การสัมภาษณ์.

ประเวศ วะสี. 2541. ยุทธศาสตร์ชาติ : เพื่อความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ สังคมและศีลธรรม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน.

ปรีชา หยั่งทะเล. 2552, 13-19 พฤศจิกายน. ยกฐานะอบต. ขึ้นชั้นเทศบาลปัญหาที่ต้องเร่งสะสาง. สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์: 41.

ปลัดเทศบาลตำบล ก. ปลัดเทศบาล.2554 (20 เมษายน). การสัมภาษณ์.

ปลัดเทศบาลตำบล ข. ปลัดเทศบาล. 2554 (6 กรกฎาคม). การสัมภาษณ์.

พระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับที่ 12) พ.ศ.2546. ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่124ก/1/22 ธันวาคม 2546.

พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล (ฉบับที่ 5 )พ.ศ.2546. ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 55 ก/-/วันที่17 มิถุนายน 2546.

พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล(ฉบับที่ 6)พ.ศ. 2552. ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 126 ตอนที่ 84 ก วันที่ 6 พฤศจิกายน 2552.

พระราชบัญญัติสภาองค์กรชุมชน พ.ศ. 2551. ประกาศใช้ในราชกิจานุเบกษาเล่มที่ 125 ตอนที่ 31 ก วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2551.

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,โครงการวิทยาลัยการเมือง. 2537. รายงานการวิจัย เกณฑ์การพิจารณาจัดตั้งและยกฐานะหน่วยการปกครองท้องถิ่น. กรุงเทพมหานคร: ม.ป.พ.

มติชน. 2552, 25 ตุลาคม.“บุญจง”ท้าสาบานทุจริตยกฐานะอบต.: 10.

มติชน. 2552, 11 พฤศจิกายน. ยกฐานะ “อบต.”วุ่นไม่เลิก: 8.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550. ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 124/ตอนที่ 47 ก/หน้า 1/24 สิงหาคม 2550)

วีระศักดิ์ เครือเทพ. 2553. ฤาเสียงของประชาชนจะมีความหมายในการจัดทางบประมาณของ อบต.?. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพระปกเกล้า.

สมาชิกสภาเทศบาลตำบล ก.(1). สมาชิกสภาเทศบาล.2554 ( 20 เมษายน). การสัมภาษณ์.

สมาชิกสภาเทศบาลตำบล ข.(1). สมาชิกสภาเทศบาล.2554 (นิเวศ 5 กรกฎาคม). การสัมภาษณ์.

สุภางค์ จันทวานิช. 2549. วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 14. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพิ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุภางค์ จันทวานิช. 2552. การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพิ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, สำนักรายงานการประชุมและชวเลข. 2552. รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 23 ปีที่ 2 ครั้งที่ 20 สมัยสามัญนิติบัญญัติ. สำนักรายงานการประชุมและชวเลข สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

อลงกรณ์ อรรคแสง. 2547. การจัดรูปแบบและโครงสร้างภายใน ใน สารานุกรมการปกครองท้องถิ่นไทย. นครินทร์ เมฆไตรรัตน์และคณะ. นนทบุรี : สถาบันพระปกเกล้า. หน้า 55

อดีตนายกอบต.ข. ประชาชน. 2554. (5 กรกฎาคม). การสัมภาษณ์.

Punyaratabandhu. (2007). อ้างใน วีระศักดิ์ เครือเทพ. 2553. ฤาเสียงของประชาชนจะมีความหมายในการจัดทางบประมาณของอบต.?. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพระปกเกล้า.

Suwanmala. (2007). อ้างใน วีระศักดิ์ เครือเทพ. 2553. ฤาเสียงของประชาชนจะมีความหมายในการจัดทางบประมาณของอบต.?. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพระปกเกล้า.