ดัชนีชี้วัดผลการดาเนินงานด้านการเงินของเทศบาลใน 4 มิติ

Main Article Content

Weerasak Krueathep

Abstract

     บทความนี้นาเสนอการวิเคราะห์ผลการดาเนินงานด้านการเงิน (financial performance) ของเทศบาลในปีงบประมาณ 2552 จานวน 972 แห่งโดยใช้ดัชนีชี้วัดทางการเงินใน 4 มิติ ได้แก่ ความยั่งยืนในการบริหารสภาพคล่อง (Cash Solvency) ความยั่งยืนทางด้านงบประมาณ (Budget Solvency) ความยั่งยืนทางการเงินในระยะยาว (Long-Term Solvency) และความเพียงพอในการให้บริการสาธารณะ (Service-Level Solvency) ข้อมูลการวิเคราะห์แสดงให้เห็นว่าเทศบาลส่วนใหญ่มีผลการดาเนินงานด้านการเงินในระดับที่ดีโดยเฉพาะในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจปี 2552 ที่ผ่านมา เทศบาลกลุ่มตัวอย่างสามารถรักษาสภาพคล่องทางการเงินไว้ได้ในสัดส่วนที่สูง มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายแบบเกินดุลและมีเงินสะสมในปริมาณที่สูงพอสมควร อีกทั้งยังมีภาระหนี้เงินกู้ในระยะยาวที่ไม่สูงนักเมื่อพิจารณาเปรียบเทียบกับศักยภาพทางด้านการเงินที่มีอยู่ จึงมีความมั่นใจในระดับหนึ่งว่าประชาชนในเขตเทศบาลเหล่านี้จะได้รับการบริการสาธารณะที่ไม่สะดุดหรือขาดตอนลง

Article Details

How to Cite
krueathep, weerasak . (2020). ดัชนีชี้วัดผลการดาเนินงานด้านการเงินของเทศบาลใน 4 มิติ. King Prajadhipok’s Institute Journal, 9(1), 59–88. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/kpi_journal/article/view/244426
Section
Original Articles

References

จรัส สุวรรณมาลา. 2541. ศักยภาพทางการคลังขององค์การบริหารส่วนตาบล. กรุงเทพฯ: สถาบันนโยบายศึกษา.

จรัส สุวรรณมาลา. 2542. การวางแผนกลยุทธ์ทางการเงินขององค์กรในภาครัฐ. กรุงเทพฯ: โครงการผลิตตาราและเอกสารการสอน ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จรัส สุวรรณมาลา. 2546. ระบบงบประมาณและการจัดการแบบมุ่งผลสาเร็จในภาครัฐ. กรุงเทพฯ: ธนธัชการพิมพ์.

ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์. 2551. การคลังท้องถิ่น: รวมบทความวิจัยเพื่อเพิ่มพลังให้ท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: พีเอลิฟวิ่ง.

สกนธ์ วรัญญูวัฒนา. 2553. วิถีใหม่การพัฒนารายรับท้องถิ่นไทย. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า.

อุดม ทุมโฆสิต. 2545. การวิเคราะห์ฐานะทางการเงินขององค์การบริหารส่วนท้องถิ่น: กรณีองค์การบริหารส่วนตาบล. กรุงเทพฯ: หอรัตนชัยการพิมพ์.

Berne, R., and R. Schramm. 1986. Financial Analysis of Governments. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.

Groves, S. M., and M. G. Valente. 1994. Evaluating Financial Condition: A Handbook for Local Government. Washington, DC: International City/County Management Association.

Hou, Y., and D. Moynihan. 2008. The Case for Countercyclical Fiscal Capacity. Journal of Public Administration Research and Theory. 18 (1): 139-159.

Howell, J. M., and C. F. Stamm. 1979. Urban Fiscal Stress: A Comparative Analysis of 66 U.S. Cities. Lexington, MA: Lexington Books.

Joice, P. G. 2001. What's So Magical about Five Percent? A Nationwide Look at Factors That Influence the Optimal Size of State Rainy Day Funds. Public Budgeting and Finance. 21 (2): 62-87.

Krueathep, W. 2010a. Bad Luck or Bad Budgeting: A Comparative Analysis of Municipal Fiscal Conditions in Thailand. Unpublished Ph.D. Dissertation, Rutgers, the State University of New Jersey.

Krueathep, W. 2010b. Measuring Municipal Fiscal Health: The Application of U.S.-Based Measures to the Context of Thailand, International Journal of Public Administration. 33 (5): 223-239.

Miller, G. J. 2001. Fiscal Health in New Jersey’s Largest Cities. Newark, NJ: Cornwall Center Publication.

Schick, A. 1998. A Contemporary Approach to Public Expenditure Management. Washington, DC: Economic Development Institute, World Bank.

Varanyuwatana, S. 2003. Thailand. In Local Government Finance and Bond Markets. ed., Y. H. Kim, 525-566. Manila, Philippines: Asian Development Bank.

Wang, X. 2006. Financial Management in the Public Sector: Tools, Applications, and Cases. Armonk, NY: M.E. Sharpe.