๘๔ พรรษา ธรรมราชาประชาธิปไตย
Main Article Content
Abstract
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ได้ดาเนินวัฒนามาเป็นเวลากว่าเจ็ดสิบเก้าปี นับเนื่องแต่วันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงดารงพระองค์ในฐานะของพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญของการปกครองระบอบประชาธิปไตย อย่างบริสุทธิ์ บริบูรณ์ ทรงเป็นพระประมุข ผู้ทรงเป็นศูนย์รวมใจของไทยทั้งชาติ ทรงครองแผ่นดินด้วยทศพิธราชธรรม ทรงนาพาประเทศไทยผ่านพ้นวิกฤตทางการเมืองด้วยพระบารมีอันหาที่สุดมิได้หลายครั้งหลายครา ทรงเปี่ยมไปด้วยพระมหากรุณาธิคุณในการส่งเสริมและสนับสนุนการปกครองในระบอบประชาธิปไตยให้ปวงชนชาวไทยมีสิทธิเสรีภาพ ประชาธิปไตยมีความมั่นคงยั่งยืน ประเทศชาติก้าวหน้า ประชาชนมีความสุข ดังพระปฐมบรมราชโองการว่า “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรมเพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม” ใน พ.ศ. ๒๕๕๔ อันเป็นปีพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ (๘๔ พรรษา) ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว บทความนี้ จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ทรงเป็นธรรมราชา ประชาธิปไตย ทรงครองแผ่นดินโดยธรรม ทรงทาให้สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นเสาหลักของความเป็นปึกแผ่นของคนในชาติ
Article Details
@ 2020 King Prajadhipok's Institute The Government Complex Commemorating All Right Reserved.
References
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, สำนักงาน. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๐. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
เครือข่ายกาญจนาภิเษก. ๒๕๔๒. พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก : http://kanchanapisek.or.th/biography/index.th.html/ (วันที่ค้นข้อมูล ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๕๔).
เครือข่ายกาญจนาภิเษก. ๒๕๕๔. ประมวลพระราชดำรัส. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก : http://kanchanapisek.or.th/speeches/1992/0520.th.html/ (วันที่ค้นข้อมูล ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๕๔).
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒
พระราชอำนาจตามนิติราชประเพณี. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก : http://power.manager.co.th/57-67.html/ (วันที่ค้นข้อมูล ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๕๔).
พลาดิศัย สิทธิธัญกิจ. ๒๕๔๙. ในหลวงฯ กษัตริย์นักพัฒนาผู้ยิ่งใหญ่. กรุงเทพฯ: บุ๊คสไมล์, หน้า ๒๑๘.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐
วิกิพีเดีย. ๒๕๕๔. พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก : http://th.wikipedia.org/wiki/พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว/ (วันที่ค้นข้อมูล ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๕๔).
วิกิพีเดีย. ๒๕๕๔. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก : http://th.wikipedia.org/wiki/พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช/ (วันที่ค้นข้อมูล ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๕๔).
วิกิพีเดีย. ๒๕๕๔. พฤษภาทมิฬ. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก : http:// th.wikipedia.org/wiki/พฤษภาทมิฬ/ (วันที่ค้นข้อมูล ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๕๔).
วุฒิสภา. ๒๕๕๔. ๘๔ พรรษา ธรรมราชาประชาธิปไตย เนื่องในโอกาส มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาครบ ๘๔ พรรษา. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก : http://www.senate.go.th/main/senate/images/18-1-54.pdf/ (วันที่ค้นข้อมูล ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๕๔).
สมพร เทพสิทธา. ๒๕๕๔. "การพัฒนาประชาธิปไตยและการเมือง" ใน ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง แนวทางปฏิรูปประเทศไทยท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ: สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สำนักงาน กปร. และสำนักงบประมาณ และกรุงเทพมหานคร และมูลนิธิชัยพัฒนา. ๒๕๕๐. ตามรอยเบื้องพระยุคลบาท ด้วยทศพิธราชธรรม และหลักการทรงงาน. กรุงเทพฯ : มปท.
สำนักราชเลขาธิการ. ๒๕๕๐. ประมวลพระราชดำรัสและพระบรมราโชวาทที่พระราชทานในโอกาสต่างๆ พุทธศักราช ๒๕๔๙. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง,
สำนักราชเลขาธิการ. ๒๕๕๔. ภาพพระราชกรณียกิจ. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก : http://ohmpps.go.th/searchsheetlist_en.phpget=1&get=1&quick_type=photo&AC_quick_text=&quick_text=&offset=105/ (วันที่ค้นข้อมูล ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๕๔).
สุชาติ เผือกสกนธ์, พลตารวจตรี. อ้างถึงใน ย้อนอดีตการสื่อสารไทย. กรุงเทพฯ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย, ๒๕๓๓.
Robert Horn. (2006). King Bhumibol Adulyadej, Over 60 years, a beloved monarch has used his moral authority to guide Thailand through many crises. [Online]. Available: http://www.time.com/time/asia/2006/heroes/in_adulyadej.html/ (Access date: May 25, 2011).