นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: พัฒนาการ แนวโน้ม และการสารวจมาตรฐานด้านสุขภาพของไทย
Main Article Content
Abstract
บทความนี้ทาการศึกษาพัฒนาการของนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ทิศทางของนโยบายภายหลังจากการเข้ามาบริหารงานของรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ร่วมกับการประเมินเกี่ยวกับมาตรฐานด้านสุขภาพในปัจจุบันของประเทศไทย อาศัยข้อมูลจากรายงานการพัฒนามนุษย์ (Human Development Report) ของโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) บทความนี้ค้นพบว่าประเทศไทยมีการพัฒนาในเรื่องระบบการประกันสุขภาพมาอย่างต่อเนื่อง มีการจัดสรรงบประมาณค่าใช้จ่ายด้านการสาธารณสุขอยู่ในระดับปานกลางเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้าน ส่งผลให้ประชาชนชาวไทยสามารถเข้าถึงการบริการสุขภาพอย่างกว้างขวางกว่าในอดีต อย่างไรก็ตาม การดาเนินการตามนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่ผ่านมายังไม่สามารถเป็นหลักประกันได้ว่าคนไทยจะมีสุขภาพดีถ้วนหน้าได้ตามเป้าหมาย เนื่องจากคนไทยยังมีความเสี่ยงต่อการติดโรคร้ายแรงอยู่ ดังนั้น นอกจากการพยายามจัดสรรทรัพยากรและจัดบริการด้านการแพทย์ที่ได้มาตรฐานและทั่วถึงแล้ว รัฐบาลยังต้องให้ความสาคัญกับการสร้างความรู้ความเข้าใจในเรื่องสุขภาพแก่ประชาชนด้วย
Article Details
@ 2020 King Prajadhipok's Institute The Government Complex Commemorating All Right Reserved.
References
กระทรวงสาธารณสุข. 2545. แนวทางการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในระยะเปลี่ยนผ่าน. นนทบุรี: สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข.
กิติพัฒน์ นนทปัทมะดุล. 2537. สุขภาพดีถ้วนหน้า. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ศิริชัยการพิมพ์.
“เก็บ 30 บ. ฝันค้างเหตุศึกในสปสช.” ไทยโพสต์, 3 ตุลาคม 2554.
คณะทeงานพัฒนานโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า. 2544. ข้อเสนอระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.
"จุรินทร์ วิพากษ์เพื่อไทยฟื้น 30 บาทย้อนกลับจุดเดิม.” กรุงเทพธุรกิจ, 6 กรกฎาคม 2554.
ชัยรัตน์ พัฒนเจริญ. 2536. สุขภาพดีถ้วนหน้า, พิมพ์ครั้งที่ 2. ขอนแก่น: สำนักพิมพ์ศิริชัยการพิมพ์.
ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา และคณะ. 2554. สุขภาพคนไทย 2554: เอชไอเอ กลไกพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อชีวิตและสุขภาพ. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
เชิดชู อริยศรีวัฒนา. 2554. คืนชีพ 30 บาทรักษาทุกโรค ได้ หรือเสีย? http://www.thaitrl.org/index.php?option=com_content&task=view&id=1545&Itemid=56 เข้าดูข้อมูล 1 พฤศจิกายน 2554.
“'ต่อพงษ์'ฟุ้งรัฐบาลปูแดงจ่อเพิ่มงบ30บ.” ไทยโพสต์, 9 กันยายน 2554.
“ตัวแทนเครือข่ายฯผู้บริโภคภาคปชช.ซัด"เพื่อไทย"ฟื้น 30 บาท=ถอยหลังเข้าคลอง อย่าแสดงความเป็นเจ้าของ!!” มติชนออนไลน์, 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1310626613&grpid=01&catid=&subcatid= เข้าดูข้อมูล 1 พฤศจิกายน 2554.
"รื้อฟื้น 30 บาท มีดีแค่ศักดิ์ศรี?" Thaireform, 23 กันยายน 2554 http://www.thaireform.in.th/news-healthsystem/item/6461--30-.html?pop=1&tmpl=component&print=1 เข้าดูข้อมูล 1 พฤศจิกายน 2554.
“วิทยา ชี้ร่วมจ่าย 30 บาท รักษาทุกโรค คืนศักดิ์ศรีให้ผู้ป่วย.” ASTV ผู้จัดการออนไลน์, 23 สิงหาคม 2554. http://www.manager.co.th/QOL/viewnews.aspx?NewsID=9540000106031 เข้าดูข้อมูล 1 พฤศจิกายน 2554.
สงวน นิตยารัมภ์พงศ์. “ผลกระทบของการประกันสังคมต่อระบบบริการสาธารณสุข.” หนังสือพิมพ์วงการแพทย์, 29 กรกฎาคม-4 สิงหาคม 2534, 12-13.
“สธ.แนะปชช.จ่ายเงินเข้าโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเพิ่มคุณภาพบริการ.” สำนักข่าวอินโฟเควสท์, 23 สิงหาคม 2554 http://www.ryt9.com/s/iq02/1219905 เข้าดูข้อมูล 10 ตุลาคม 2554.
“สปสช. เริ่มเก็บค่าธรรมเนียม 30 บาท เดือนพฤศจิกายนนี้.” สำนักข่าวไทย, 5 ตุลาคม 2554 http://www.mcot.net/content/277003 เข้าดูข้อมูล 10 ตุลาคม 2554.
สำนักงานประกันสุขภาพ. 2536. ผลการดำเนินงานสานักงานประกันสุขภาพ ปี 2535. กรุงเทพฯ: กระทรวงสาธารณสุข.
“แห่สนองประชานิยมภาค2” ไทยโพสต์, 6 กรกฎาคม 2554.
อังสนา บุญธรรม ศรัณญา เบญจกุล และ สุกัลยา คงสวัสดิ์. 2554. การทบทวนชุดดัชนีชี้วัดสุขภาพระดับนานาชาติ. กรุงเทพฯ: สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.
อัมมาร สยามวาลา. 2544. “หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: เป้าหมายเชิงนโยบาย.” รายงานทีดีอาร์ไอ, 30 กรกฎาคม.
อัมมาร สยามวาลา. 2546. “คนจน คนรวย กับโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค.” รายงานทีดีอาร์ไอ, 34 มิถุนายน.
Nyman, John A. 2003. Theory of Demand for Health Insurance. Palo Alto, CA: Stanford University Press.
United Nations Development Program. 2010. Human Development Report 2010. http://undp.or.th/publications/ Access October 12, 2011.
World Health Organization. 1981. Development of Indicators for Monitoring Progress towards Health for All by the Year 2000. Geneva: World Health Organization.