การเมือง การบริหาร และ การกาหนดนโยบายสาธารณะ ภายใต้แนวคิดการบริหารกับการเมืองที่ไม่แยกออกจากกัน ในบริบทสังคมตะวันตกและในบริบทสังคมไทย

Main Article Content

Jidapa Thirasirikul

Abstract

     ในการศึกษา การเมือง การบริหาร และการกาหนดนโยบายสาธารณะ ภายใต้แนวคิดการบริหารกับการเมืองที่ไม่แยกออกจากกัน ในบริบทสังคมตะวันตกและบริบทสังคมไทย กล่าวได้ว่า มีความแตกต่างกัน ในหลายประการ โดยความแตกต่างที่สาคัญมาจาก ความแตกต่างในแง่ที่มาและความชอบธรรมของตัวแสดงในฝ่ายการเมือง ความสัมพันธ์เชิงอานาจระหว่างฝ่ายการเมืองและฝ่ายบริหาร และระดับการเข้าไปเกี่ยวข้องของฝ่ายบริหารในกิจกรรมการกาหนดนโยบายสาธารณะ เหตุที่เป็นเช่นนั้นมาจาก ความแตกต่างในโครงสร้างสังคมและสภาพแวดล้อมทางการเมืองและการบริหารในบริบทของสังคมตะวันตกและสังคมไทย

Article Details

How to Cite
thirasirikul, jidapa . (2020). การเมือง การบริหาร และ การกาหนดนโยบายสาธารณะ ภายใต้แนวคิดการบริหารกับการเมืองที่ไม่แยกออกจากกัน ในบริบทสังคมตะวันตกและในบริบทสังคมไทย. King Prajadhipok’s Institute Journal, 9(3). Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/kpi_journal/article/view/244477
Section
Original Articles

References

ชัยอนันต์ สมุทวณิช. การเมืองกับการบริหาร. พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์บรรณกิจ, 2523.

ชัยอนันต์ สมุทวณิช. ไตรลักษณ์รัฐกับการเมืองไทย,กรุงเทพมหานคร : สถาบันนโยบายศึกษา มูลนิธิคอนราด อาดานาว์, 2538.

ติน ปรัชญพฤทธิ์. ทฤษฏีองค์การ. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพาณิชย์, 2527.

ทักษ์ เฉลิมเตียรณ. การเมืองระบบพ่อขุนอุปถัมภ์แบบเผด็จการ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2548.

พิทยา บวรวัฒนา.รัฐประศาสนศาสตร์ : ทฤษฎีและแนวการศึกษา (ค.ศ.1887-1970). พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550.

รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์. กระบวนการกาหนดนโยบายเศรษฐกิจในประเทศไทย บทวิเคราะห์เชิงประวัติศาสตร์เศรษฐกิจการเมือง พ.ศ. 2475-2530. กรุงเทพมหานคร : โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2546.

ลิขิต ธีรเวคิน. วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2546.

สุจิต บุญบงการ และพรศักดิ์ ผ่องแผ้ว. พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งของคนไทย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526.

เอนก เหล่าธรรมทัศน์. มองเศรษฐกิจการเมืองไทย ผ่านการเคลื่อนไหวของสมาคมธุรกิจ. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์คบไฟ, 2539.

Dahl, Robert. “The Concept of Power”. Behavioral Science. (July,1957):202-203.

Frederickson, H. George.”Toward a New Public Administration.” in Toward a New Public

Administration The Minnowbrook Perspective. ed., Marini, Frank . New York : Chandler Publishing, 1971.

Frederickson, H. George and Smith, Kevin B.Public administration theory primer. Oxford : Westview Press, 2003.

Gaus, John. “ Note on Administration”. American Political Science Review. (25,1931):123-134.

Riggs, Fred. Administration in developing countries : the theory of prismatic society. Boston : Houghton Miffin,1964.

Rohr,John A.”The Constitutional Case for Public Administration” in Refounding Public Administration.eds, Wamsley, Gary L. and others. London : Sage Publication,1989.

Marini, Frank.”The Minnowbrook Perspective and The Future of Public Administration.” in Toward a New Public Administration The Minnowbrook Perspective. ed.,Marini, Frank. New York : Chandler Publishing, 1971.

Nadel, M.V. and Rourke, F.B. “Bureaucracies.” in Handbook of Political Science. eds., Greenstein, F.I. and others. Massachusetts : Addison-Wesley Publishing,1975.

Waldo, Dwight.”Forward.” in Toward a New Public Administration The Minnowbrook Perspective. ed., Marini, Frank. New York : Chandler Publishing, 1971.