หนึ่งทศวรรษสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กับแนวคิดสภาภาคประชาชน
Main Article Content
Abstract
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ถือกาเนิดขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ มาตรา 89 “เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการตามหมวดนี้ให้รัฐจัดให้มีสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ มีหน้าที่ให้คาปรึกษาและข้อเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีในปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจและสังคม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและแผนอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติต้องให้สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติให้ความเห็นก่อนพิจารณาประกาศใช้ องค์ประกอบที่มา อานาจหน้าที่ และการดาเนินงานของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ” และเป็นผลในทางปฏิบัติเมื่อมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. 2543 ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เล่ม 117 ตอนที่ 118ก วันที่ 19 ธันวาคม 2543 โดยมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา จึงถือได้ว่าวันที่ 20 ธันวาคม 2543 เป็นวันก่อตั้งสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติอย่างเป็นทางการ และครบรอบหนึ่งทศวรรษใน พ.ศ. 2553 บทความทางวิชาการนี้ จึงจะนาเสนอถึงแนวคิด การจัดตั้งสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ การดาเนินงาน ผลการดาเนินงานของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ บทวิเคราะห์บทบาทของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กับแนวคิดสภาภาคประชาชน
Article Details
@ 2020 King Prajadhipok's Institute The Government Complex Commemorating All Right Reserved.
References
กรุงเทพธุรกิจ. (2552). เชื่อมั่นสถาบันศาล-กองทัพ ความนิยม"มาร์ค" ไล่จี้ "ทักษิณ". [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก : http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/politics/analysis/20091227/92881/เชื่อมั่นสถาบันศาล-กองทัพ ความนิยม"มาร์ค" ไล่จี้ "ทักษิณ".html/ (วันที่ค้นข้อมูล: 11 กุมภาพันธ์ 2553).
กำพล รุจิวิชชญ์. (2552). รายงานการวิจัย การสร้างประสิทธิภาพประชาคมสื่อและอาสาสมัครประชาสัมพันธ์. กรุงเทพฯ: สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
เจริญ คัมภีรภาพ. (2551). สภาอุดมทัศน์?...สู่สภาวิชาชีพ...ถึงสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. จุลสารโครงการศึกษาวิจัย สป. ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม 2551. หน้า 1.
ธวัชชัย อนุพงศ์อนันต์. (2551). บทความ “An Oak by the window…The Wisdom of Crowds” ในนิตยสารผู้จัดการฉบับเดือนเมษายน พ.ศ. 2551. http://www.gotomanager.com/news/details.aspx?id=68291 ค้นคืนเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2553.
ปริชาติ วลัยเสถียร และคณะ. (2543). กระบวนการและเทคนิคการทำงานของนักพัฒนา. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
พรรณราย ขันธกิจ. (2548). บทบาทและหน้าที่ขององค์กรสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า.
มติชนรายวัน. (2548). "หมอประเวศ" แนะสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ใช้หลัก "สามเหลี่ยมเขยื้อนภูเขา", มติชนรายวัน วันที่ 09 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ปีที่ 28 ฉบับที่ 10135. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก : http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2005q4/article2005dec09p4.htm/ (วันที่ค้นข้อมูล: 11 กุมภาพันธ์ 2553).
วัชรา ไชยสาร. (2550, ตุลาคม-ธันวาคม). สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ: องค์รวมประชาสังคมเพื่อการพัฒนาประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม. วารสารสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2(4), หน้า 49.
สถาบันวิจัยและให้คาปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2551). โครงการศึกษาวิจัยเรื่อง โครงการ สร้างความรู้ ความเข้าใจและพัฒนากระบวนการสรรหาสมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. กรุงเทพฯ : สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2550). ประวัติความเป็นมา. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก : http://www2.nesac.go.th/nesac/th/about/history.php?myLeftMenu=1/ (วันที่ค้นข้อมูล: 11 กุมภาพันธ์ 2553).
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2551). วิสัยทัศน์และภารกิจองค์กร. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก : http://www2.nesac.go.th/nesac/th/about/mission.php?myLeftMenu=3/ (วันที่ค้นข้อมูล: 11 กุมภาพันธ์ 2553).
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2552). รายงานประจำปี 2552. กรุงเทพฯ : ออนป้า.
สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2544ก). สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. กรุงเทพฯ : เพชรรุ่งการพิมพ์.
สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2552ก). รายงานประจำปี 2551 สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.
สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2552ข). รายงานผลการดำเนินงานคณะทำงานการมีส่วนร่วม กระจายอำนาจและสนับสนุนเครือข่าย (พ.ศ. 2548-2552). กรุงเทพฯ: แอล.ที.เพลส.
สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2552ค). สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ องค์กรแห่งปัญญา ให้คำปรึกษา สะท้อนปัญหา จากประชาสู่รัฐ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2552ง). พระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. 2543 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2547 พระราชกฤษฎีกาเบี้ยประชุมและค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานของสมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. 2544 และกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. 2549. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
สำนักข่าว ไอ.เอ็น.เอ็น. (2552). สป.สรุปผลงาน 3 ปี เสนอแนวทางรัฐ 140 เรื่อง. [ออนไลน์] NewsCenter.Thursday, May 14, 2009 16:14. สืบค้นเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2552, อ้างอิงจาก อารีรัตน์ วิชาช่าง. (2553). สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก : http://www.thaipoliticsgovernment.org/wiki/สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ/ (วันที่ค้นข้อมูล: 11 กุมภาพันธ์ 2553).
สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2552). บันทึกสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่องการดำเนินการแต่งตั้งเลขาธิการสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เรื่องเสร็จที่ 622/2552. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก : http://app-thca.krisdika.go.th/Naturesig/CheckSig?whichLaw=cmd&year=2552&lawPath=c2_0622_2552/ (วันที่ค้นข้อมูล: 11 กุมภาพันธ์ 2553).
Law Reform Commission, Office of the Council of State. (2007). Constitution of the Kingdom of Thailand, B.E. 2550 (2007). [Online]. Available: http://www.lawreform.go.th/lawreform/images/th/legis/en/const/2007/20584.pdf/ (Access date: February 12, 2010).
NESAC. (2008). The National Economic and Social Advisory Council of Thailand, Echoing People’s Concerns to Public Policies. 2nd Edition. Bangkok: Kurusapa Ladprao.
NESAC. (2009). National Economic and Social Advisory Council. [Online]. Available: http://www2.nesac.go.th/english/ (Access date: February 12, 2010).
Surowiecki, James. (2004). The Wisdom of Crowds : Why the Many Are Smarter than the Few and How Collective Wisdom Shapes Business, Economics and Societies and Nations. New York: Anchor.