วัฒนธรรมกับประชาธิปไตย: การเรียกร้องความเท่าเทียมทางวัฒนธรรมของอเมริกันอินเดียน

Main Article Content

Cheewasit Boonyakiat

Abstract

     การรื้อฟื้นและอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมของกลุํมชนตำงๆ ปรากฏให๎เห็นอยำงชัดเจนในหลายทศวรรษที่ผำนไป กระบวนการดังกลำวเป็นไปเพื่อการเรียกร๎องสิทธิในการธารงอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม (cultural rights) และหรือเป็นความพยายามในการสํงเสริมให๎ลูกหลานของชุมชน ได๎เข๎าใจถึงรากเหง๎า ประวัติศาสตร์ กระทั่งการสร๎างสรรค์ใหมํที่อยูํบนรากฐานทางวัฒนธรรม ในทางหนึ่ง การรื้อฟื้นวัฒนธรรมและศึกษาประวัติศาสตร์ของกลุํมชน เป็นปฏิกิริยาตํอเนื่องกับการปลดแอกอาณานิคมทางการเมือง อันหมายถึง การตํอรองและเรียกร๎องสิทธิของกลุํมที่มีอานาจทางการเมืองน๎อยกวำ ในการกาหนดชะตากรรมของตนเอง ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ในขณะเดียวกัน กระบวนการสร๎างและสืบตํอมรดกวัฒนธรรม กลับกลายเป็นเครื่องมือทางการเมืองอีกรูปแบบหนึ่ง ในการสร๎างความภาคภูมิใจให๎กับผู๎คนกลุํมประเทศใหมํ1 หลังจากลํมสลายของลัทธิอาณานิคมข๎ามชาติ ที่เกิดขึ้นเมื่อคริสต์ศตวรรษที่แล้ว


     แตํไมํวำมรดกวัฒนธรรมจะมีวาระทางการเมืองเชํนใด ปรากฏการณ์ดังกลำว ชวนให๎นักวิชาการจานวนไมํน๎อยพยายามทาความเข๎าใจกับกาเนิดและความสืบเนื่องของมรดกวัฒนธรรมของแตํละกลุํมวัฒนธรรม จากนั้น นามาบอกเลำให๎สาธารณะเห็นความสาคัญของความเคลื่อนไหวและการตํอสู๎ของกลุํมชนตำงๆ ในการรักษาความหลากหลายทางวัฒนธรรม มอยรา ซิมป์สัน (Moira Simpson) นักวิชาการชาวออสเตรเลีย เป็นผู๎หนึ่งที่ให๎ความสนใจและศึกษากระบวนการใช๎วัฒนธรรมเป็นเครื่องมือในการแสดงลักษณะเฉพาะทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะอยำงยิ่ง พิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่นหรือพิพิธภัณฑ์ในระดับชุมชน


     ในทวีปอเมริกาเหนือ ซิมป์สัน ได๎ศึกษาการเกิดขึ้นของพิพิธภัณฑ์ชนพื้นถิ่น ชาวอเมริกันอินเดียน อันเป็นผลพวงมาจากการหันมาเรียกร๎องสิทธิของตนเองในการกาหนดชะตากรรม และรื้อฟื้นวัฒนธรรมประเพณีที่สูญหาย ตั้งแตํปลายคริสต์ทศวรรษ 1950 เป็นต๎นมา เธอได๎ประมวลการจัดตั้งและกระบวนการสร๎างสรรค์ให๎พิพิธภัณฑ์ชนเผำ (tribal museum) เป็นเครื่องมือในการตํอรองทางการเมือง และเป็นชํองทางการสื่อสารทางวัฒนธรรม ทั้งกับลูกหลานของพวกเขาและกับผู๎คนจากภายนอก คนที่มาจากวัฒนธรรมอื่น ด๎วยเหตุนี้ หลังจากที่ได๎อำนบทความของเธอ เรื่อง พิพิธภัณฑ์และศูนย์วัฒนธรรมของอินเดียนพื้นถิ่น (Native American museums and cultural centres) ซึ่งปรากฏในหนังสือเรื่อง การสร๎างภาพตัวแทนในพิพิธภัณฑ์หลังยุคอาณานิคม (Making Representations, Museums in the Post-Colonial Era)2 ผมเห็นวำ ประสบการณ์สร๎างพิพิธภัณฑ์อเมริกันอินเดียนจะชํวยสะท๎อนให๎เห็นบทบาทของวัฒนธรรมกับการเมือง และที่สาคัญ พิพิธภัณฑ์ในระดับชนเผำเหลำนี้ ไมํใชํเพียงเครื่องประดับทางสังคม สาหรับการเรียกร๎องวันคืนที่งดงามในอดีต แตํคือ การนาอดีตมารับใช๎ปัจจุบันได๎อีกด๎วย


     ฉะนั้น ผมเก็บความและคัดเลือกพิพิธภัณฑ์ของกลุํมชาติพันธุ์ จานวน 4 กลุํมที่มีการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ อันได๎แกํ (1) เผำเชอโรกีอินเดียน (Cherokee Indian) ในนอร์ธ คาโรไลนา และในโอกลาโฮมา ประเทศสหรัฐอเมริกา (2) กิทค์สันอินเดียน (Gitksan Indian) ในบริติช โคลัมเบีย ประเทศคานาดา (3) ควัควาคา’ วัค (Kwakwaka’wakw) ทางชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือ ประเทศคานาดา และ (4) นาวาโฮ (Navajo) ในอริโซนา ประเทศสหรัฐอเมริกา และ เชอโรกี (Cherokee) ในโอกลาโฮมา ผมจะแยกแยะให๎ผู๎อำนเห็นมูลเหตุทางประวัติศาสตร์ การระดมทุนทรัพย์หรือการสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาล รูปแบบการจัดแสดง และกิจกรรมตํอเนื่องของพิพิธภัณฑ์แตํละแหํง การเริ่มต๎นพิจารณาพิพิธภัณฑ์ชนเผำในบริบททางประวัติศาสตร์ มีความสาคัญอยำงยิ่งในการทาความเข๎าใจเงื่อนไขพื้นฐานในการกํอตัวของพิพิธภัณฑ์แตํละแหํง เพราะปัจจัยดังกลำวเป็นสํวนหนึ่งที่กาหนดลักษณะเฉพาะของพิพิธภัณฑ์ จากนั้น จะวิเคราะห์ให๎เห็นวำ กลไกในการสร๎างความสานึกของอัตลักษณ์วัฒนธรรม โดยอาศัยกระบวนการมีสํวนรํวมของชุมชนในการดาเนินการตำงๆ ไมํวำจะเป็นการรื้อฟื้นวัฒนธรรมภูมิปัญญา หรือการถำยทอดทักษะความรู๎ดังกลำว สํงเสริมให๎เกิดกระบวนการเรียกร๎องความเทำเทียมในทางวัฒนธรรมอยำงไร

Article Details

How to Cite
boonyakiat, cheewasit . (2020). วัฒนธรรมกับประชาธิปไตย: การเรียกร้องความเท่าเทียมทางวัฒนธรรมของอเมริกันอินเดียน. King Prajadhipok’s Institute Journal, 8(2). Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/kpi_journal/article/view/244558
Section
Original Articles