การแข่งขันทางการเมืองของ องค์การบริหารส่วนจังหวัดใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน

Main Article Content

Anothai Vattanaporn

Abstract

     โดยปกตินักรัฐศาสตร์มักมองว่าความสาเร็จและความล้มเหลวของระบอบประชาธิปไตยขึ้นอยู่กับความเข้มแข็งของภาคสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกระบวนการเลือกตั้ง คุณภาพของผู้ลงคะแนนเสียง(Voters) ถือว่าเป็นตัวแปรที่สาคัญอย่างยิ่ง นั่นก็คือว่าถ้าผู้ลงคะแนนเสียงมีระดับการศึกษาที่สูงและมีข้อมูลข่าวสารมากพอเพียง รวมทั้งมีการตัดสินใจลงคะแนนโดยอิสระ ย่อมทาให้กระบวนการเลือกตั้งสามารถได้มาซึ่งตัวแทนที่มีคุณภาพ ตรงกันข้ามหากผู้ลงคะแนนเสียงมีระดับการศึกษาที่ต่าและมีข้อมูลข่าวสารน้อย รวมทั้งยังถูกครอบงาการตัดสินใจอีกด้วย ผลที่ตามมาก็คือ ตัวแทนที่ได้รับเลือกตั้งมักจะมีคุณภาพต่าไปด้วย 


     การมองในลักษณะข้างต้นถือเป็นการมองในด้านความต้องการของประชาชน(Demand Side) โดยละเลยความสาคัญของด้านตัวผู้สมัครรับเลือกตั้ง(Candidates)หรือตัวสินค้า(Production)ว่ามีจานวนมากน้อยแค่ไหนในการเลือกตั้งแต่ละครั้ง อีกทั้งยังเป็นผู้สมัครคนเดิมหรือไม่ อันเป็นการพิจารณาในด้านอุปทาน(Supply Side) ตรงส่วนนี้ย่อมทาให้การมองปัญหาระบอบประชาธิปไตยกว้างขึ้น คือแทนที่จะมองว่าปัญหาเกิดจากคุณภาพของผู้ลงคะแนนเสียงแต่ฝ่ายเดียว ก็ควรจะมองเลยไปยังจานวนและคุณภาพของผู้สมัครรับเลือกตั้งด้วย นัยหนึ่งต้องการที่จะดูว่าทางเลือก(Choices)ของประชาชนหรือผู้ลงคะแนนเสียงมีมากน้อยเพียงใด


 

Article Details

How to Cite
vattanaporn, anothai . (2020). การแข่งขันทางการเมืองของ องค์การบริหารส่วนจังหวัดใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน. King Prajadhipok’s Institute Journal, 8(3). Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/kpi_journal/article/view/244562
Section
Original Articles

References

โกวิทย์ พวงงาม.การปกครองท้องถิ่นไทย : หลักการและมิติใหม่ในอนาคต. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์วิญํูชน จำกัด, 2550.

ธนัน อนุมานราชธน(ผู้รวบรวม), รายงานการวิจัย การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดลาพูนแทนตาแหน่งที่ว่าง (19 สิงหาคม 2535). เชียงใหม่ : คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2533.

ประกายศรี ศรีรุ่งเรือง. นักการเมืองถิ่นจังหวัดเชียงราย.กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2550.

เวียงรัฐ เนติโพธิ์. ทุนเชียงใหม่. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ openbooks, 2552.

สมาน รังสิโยกฤษฎ์. การบริหารราชการไทย อดีต ปัจจุบันและอนาคต(ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์บรรณกิจ, 2546.

สำนักงานคณะกรรมการเลือกตั้งจังหวัดลำปาง. สรุปผลการเลือกตั้งประจาปีพุทธศักราช 2547 นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปาง, 2547. วิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ.

กิติพงษ์ นามวงศ์. “การจัดสรรงบประมาณขององค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย ประจาปี 2544” รัฐศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2546.

ปลายอ้อ ชนะนนท์. “บทบาทนายทุนพ่อค้าที่มีผลต่อการก่อและขยายตัวของทุนนิยมภาคเหนือของประเทศไทย พ.ศ. 2464-2523” วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529.

อโณทัย วัฒนาพร. “การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองของภาคเหนือตอนบนในรอบ 3 ทศวรรต (2518-2548):การสารวจเบื้องต้น” ใน วารสารสถาบันพระปกเกล้า, ปีที่ 3 ฉบับที่1 ม.ค.-เม.ษ. 2548.

ผู้จัดการรายวันภาคเหนือ,3 สิงหาคม 2535,หน้า 5.

Anek Laothamatas. “Development and Democratization:A Theoretical Introduction with Reference to the Southeast Asian and East Asian Cases” in Anek Laothamatas(ed.),Democratization in Southeast and East Asia. Singapore : Institute of Southeast Asian Studies,1997, pp.1-20.

Michael Gallagher. “Introduction” in Michael Gallagher and Michael Marsh(eds.),Candidate Selection in Comparative Perspective:the Secret Garden of Politics. London : SAGE Publications,1988.

Moshe M.Czudnowski(ed.).Does who Governs Matter? : Elite Circulation in Contemporary Societies DeKalb : N.I.V.Press, 1982.

Seymour M.Lipset. Political Man : the social bases of politics. New York:Doubleday,1963, pp. 27-63.

Samuel P.Huntington.“Will More Countries Become Democratic?” in Political Science Quarterly 99,No 2. pp.193-218.

เชียงรายทูเดย์.กกต.ประกาศรับรองผลการเลือกตั้ง นายก และ ส.อบจ.เชียงราย. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก http://www.chiangraifocus.com/newsdetail.php?news=565 (28 กรกฏาคม 2552).

ไทยวรรษ สีทันดรสมุทร.เจาะฐานการเมืองท้องถิ่นผ่านชื่อนายกอบจ.ภาคเหนือ. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก http://spiral.exteen.com/20090224/entry-1 (12 กรกฎาคม 2552).

onlampangpost . ผลการเลือกตั้งนายกอบจ.ลาปาง2551. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จากhttp://onlampangpostxyz.blogspot.com/2008/05/2551.html (12 กรกฎาคม 2552).

ข้อมูลการเลือกตั้ง ส.อบจ.เชียงใหม่ ปี 2551. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก http://www102globalnet.com/cm-pao/index_s_mail.php (26 กรกฎาคม 2552).

คณะกรรมการการเลือกตั้งจังหวัดแม่ฮ่องสอน. ผลการเลือกตั้ง ส.อบจ.แม่ฮ่องสอนอย่างไม่เป็นทางการ ในวันอาทิตย์ที่ 14 มีนาคม 2547 ข้อมูล ณ 16/03/47. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก http://maehongson.ect.go.th/pon2.html (18 กรกฎาคม 2552).

คณะกรรมการการเลือกตั้งจังหวัดแม่ฮ่องสอน. ผลคะแนนการเลือกตั้งสมัครส.อบจ.แม่ฮ่องสอนอย่างไม่เป็นทางการเลือกตั้งวันที่ 20 เมษายน 2551 [ออนไลน์] เข้าถึงได้จากhttp://maehongson.ect.go.th/hotnews/210451.html (18 กรกฎาคม 2552).

สผป.สปข.3.การเลือกตั้งนายก อบจ. ในพื้นที่ภาคเหนือ.[ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก http://www.prdnorth.in.th/analyse/viewanalyse.php?view=16042547134741 (25 กรกฎาคม 2552).