การประเมินนโยบายสาธารณะด้วยความสุข
Main Article Content
Abstract
กล่าวได้ว่า คนทั่วไปเมื่อมีทุกข์หรือสุข ก็มักคิดว่ามันเป็นเรื่องของตนเองและคนใกล้ชิดหรือคนที่เกี่ยวข้องเท่านั้น บางคนก็คิดว่าเป็นผลจากการกระทาของตนหรือเป็นผลจากความสัมพันธ์ ที่ดีหรือไม่ดีกับคนใกล้ชิด บางคนก็คิดว่าความสุขเป็นผลจากอิทธิพลของจิตวิทยาเรื่องงานและครอบครัว เพื่อนฝูง และเพื่อนร่วมงานเท่านั้น แต่อันที่จริงความสุขและความทุกข์ของเรานั้นถูกกาหนดจากแนวคิดและแนวทางของนโยบายไม่น้อย เรามีนโยบายแบบหนึ่งอาจทาให้บ้านเมืองรุ่งเรือง มั่งคั่ง ผู้คนมีเงินแต่คนไม่มีความสุข เราควรมีนโยบายที่ทาให้บ้านเมืองมั่งคง ผู้คนมีชีวิตที่ดีขึ้นและมีความสุขด้วยน่าจะเป็นสิ่งที่ดีและเหมาะสมกว่า
ความสุข (Happiness) เป็นเป้าหมายสาคัญที่มนุษย์ทุกคนปรารถนา นโยบายสาธารณะที่เป็นอยู่ในแต่ละประเทศต่างก็มุ่งหวังให้คนในชาติอยู่ดีกินดี ให้ประชาชนมีความสุขด้วยกันทั้งนั้น ประเทศในแต่ละประเทศอาจบรรลุความสุขของผู้คนในประเทศได้แตกต่างกัน สังคมทุกสังคมอาจมุ่งความสุขเหมือนกันแต่ไม่ใช่เรื่องเดียวกัน
การพัฒนาประเทศที่ผ่านมาเป็นผลผลิตของกระแสการพัฒนาแบบตะวันตกที่เทคโนแครทไทย (technocrat) ในสมัยหนึ่งเชื่อว่าการเพิ่มรายได้ โดยการเพิ่มการผลิต เพิ่มการบริโภค เพิ่มการจ้างงาน และการมีโครงสร้างพื้นฐานที่ดี จะนามาซึ่งการเติบโตทางเศรษฐกิจ และความทันสมัย (modernity) ก่อให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจแบบวัตถุนิยม(Materialism) และวิถีชีวิตแบบตะวันตก (western life style) จะกลายมาเป็นส่วนหนึ่งของสังคมและเรียกว่า การพัฒนา ซึ่งตั้งแต่การพัฒนาจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแห่งชาติที่ 1 ถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแห่งชาติที่ 7 ประเทศไทยได้ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการพัฒนาประเทศมาตลอด เพื่อนาเศรษฐกิจให้เต้นไปตามกระแสโลก
Article Details
@ 2020 King Prajadhipok's Institute The Government Complex Commemorating All Right Reserved.
References
กมล แมลงทับ. (2553). โครงการเศรษฐกิจพอเพียงยกรัดับชุมชน (คพช.). ค้นเมื่อ 26 สิงหาคม 2553, จาก http://www.dopa.go.th/sml/guidelinenew.html
กระทรวงพาณิชย์. (2550). ข้อมูลการค้าเศรษฐกิจจะงหวะด. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
กระทรวงสาธาณสุข. (2551). แบบทดสอบสุขภาพจิตของกรมสุขภาพจิต. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง. กระทรวงสาธารณสุข. (2550). แบบทดสอบดะชนีชี้วะดความสุขคนไทยฉบับสั้น 15 ข้อ: The new Thai happiness indicator (THI-15). ค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2551, จาก http://www.dmh.moph.go.th/test/thaihapnew/thi15/thi15.asp
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2551). การใช้ spss for windows. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ธรรมสาร.
กาเลย์ กรรมะ และคนอื่น ๆ. (2550). ภูฐาน ต้นธาร “ความสุขมวลรวม ปรัชาชาติ” 2 คิดใหม่เกี่ยวกับการพัฒนากรุงเทพฯ การวิจัยความสุขมวลรวมคนไทย. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ. จุมพล พูลภัทรชีวิน. (2552, พฤษจิกายน 17). สุข ดี เก่ง สร้างได้. มติชนรายวัน, หน้า 11.
เจษณี สุขจิรัตติกาล. (2547). ความสุขมวลรวมปรัชาชาติ (gross national happiness). กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ภูฐานศึกษา.
ฉัตรทิพย์ นาถสุภา. (2544). แนวคิดเศรษฐกิจชุมชน: ข้อเสนอทางทฤษฎีในบริบทต่างสะงคม ที่ระลึกในวาระครบรอบ 60 ปี. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิถีทรรศน์. ฉัตรทิพย์ นาถสุภา. (2551). ปรัวะติศาสตร์เศรษฐกิจไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ ส. เจริญ.
เฉลยคำตอบผ่านงานวิจัย “เงิน” ซื้อความสุขได้จริงหรือ?. (2547, กรกฎาคม 12). ปรัชาชาติธุรกิจ, หน้า 6.
ชนัดดา ภูหงษ์ทอง และธีระพร อุวรรณโณ. (2552). ความสัมพันธ์ระหว่างการดำรงชีพตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กับความสุขเชิงอัตวิสัยในเกษตรกร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชาย โพธิสิตา. (2549). ศาสตร์และศิลป์แห่งการวิจัยเชิงคุณภาพ. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันวิจัยประชากรและสังคม.
ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ. (2551). ก้าว (ไม่) พ้นปรัชานิยม: กระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะเศรษฐศาสตร์.
ณัฐวุฒิ เผ่าทวี. (2549, สิงหาคม 5). มาทำความเข้าใจเศรษฐศาสตร์ที่ว่าด้วยความสุข- กันดีกว่า. มติชนรายวะน, หน้า 9.
ดุจเดือน พันธุมนาวิน. (2549). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการวิจัยเพื่อความเป็นเลิศ. วารสารพัฒนบริหารศาสตร์, 49, 147-166.
ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์. (2553). นโยบายความสุข จิต วัตถุและความต้องการที่ไม่สิ้นสุด. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างคุณภาพ (สสส.).
ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. (2552). การบริหารรัฐกิจร่วมระหว่างรัฐบาล ท้องถิ่น และประชาสังคม (ส่วนกลาง). วารสารสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ สาขาสะงคมศาสตร์, 41(1), 95-113.
ทิพาพร พิมพิสุทธิ์. (2546). การวิเคราะห์นโยบายเศรษฐกิจแลัสะงคม (PM 614). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง คณะรัฐศาสตร์.
ทิพาพร พิมพิสุทธิ์. (2549). บทความนโยบายสาธารณะที่ดีบนฐานเสรีภาพแลั จริยธรรม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
นพดล กรรณิกา. (2549). ความสุขมวลรวมของคนไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักวิจัยเอแบคโพลล์.
นภดล กรรณิกา, เนตรนภิศ ละเอียด และพรภพ แสงทอง. (2550). จากมาตรวัดความสุข- ภูฎาน สู่การวิจัยความสุขมวลรวมของคนไทย. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ สำนักวิจัยเอแบคโพลล์.
นภาภรณ์ พิพัฒน์. (2550). เปิดโลกความสุข GNH. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มติชน.
ป. อ. ปยุตโต. (2546). ภาวัผู้นา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์สุขภาพใจ.
ปังปอนด์ รักอำนวยกิจ และพิริยะ ผลพิรุฬห์. (2550, มิถุนายน). ความสุขกายสบายใจ ของคนเมือง. เอกสารนำเสนอในการประชุมวิชาการนคราภิวัฒน์และวิถีชีวิตคนเมือง, มหาวิทยาลัยมหิดล.
ผาสุก พงษ์ไพจิตร. (2548, ธันวาคม 21). เศรษฐศาสตร์กับความอยู่ดีมีสุข. มติชนรายวะน, หน้า 6. พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). ผาสุก พงษ์ไพจิตร. (2538). พุทธธรรม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ดวงแก้ว.
พระไพศาล วิสาโล. (2548). นโยบายปรัชานิยมกับศีลธรรมแลัความผาสุกทางสังคม. ม.ป.ท.
พระราชวรมุนี. (2518). เทพราลึก. นนทบุรี: ศูนย์ศึกษาพุทธศาสนาวันอาทิตย์.
พลเดช ปิ่นประทีป. (2545, พฤษภาคม 10).โชว์ผลวิจัย กองทุนหมู่บ้าน 7 หมื่นล้านเติมทุนทางสังคม ชักดาบจิ๊บจ๊อย-ศก. โตขึ้น 0.8%. มติชนสุดสะปดาห์, หน้า 5.
พสุ เดชะรินทร์. (2550, กุมภาพันธ์ 6). รายได้กับความสุข. กรุงเทพธุรกิจ, หน้า 3.
ไพฑูรย์ สินลารัตน์, สรชัย พิศาลบุตร และอภิชัย อภิชาตบุตร. (2552). ความสุขของคนกรุงเทพฯ ในเดือนกะนยายน 2552. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์.
ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม. (2549, กรกฎาคม 27). ขับเคลื่อนสังคมแห่งความสุขความดีต้องมาก่อนความรู้. ปรัชาชาติธุรกิจ, หน้า 6.
ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม. (2550ก, กุมภาพันธ์ 3). แผนที่ความดี. มติชน, หน้า 11. ไพบูลย์ วัฒนาศิริธรรม. (2550ข). แผนที่ความดี. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มติชน.
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์. (2551). ความสุขของคนกรุงเทพฯ ในเดือนกันยายน 2552. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง. ริการ์, เอ็ม. (2551). ความสุขคู่มือพัฒนาทักษะชีวิต. (สดใส ขันติวรพงศ์, ผู้แปล). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ภาพพิมพ์.
วรชัย ทองไทย และสุรีย์พร พันพึ่ง. (2550). นคราภิวะฒน์แลัวิถีชีวิตเมือง. โรงพิมพ์-มหาวิทยาลัยมหิดล วรากรณ์ สามโกเศศ. (2550). ศาสตร์แห่งความหดหู่แลัสิ้นหวะง. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มติชน.
วอลเลซ, บี. เอ. (2552). ศาสตร์แห่งการภาวนาการหลอมรวมพุทธศาสนากะบปรัสาทวิทยา. (เพชรรัตน์ พงษ์เจริญสุข, ผู้แปล). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แปลนพิ้นติ้ง.
วีระ สมบูรณ์. (2550, สิงหาคม). ความสุขในสังคมสมัยใหม่: จิตวิญญาณ สะงคมแลัวิทยา-ศาสตร์. เอกสารนาเสนอในการประชุมวิชาการ, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กลุ่มสนทนาพระพุทธศาสนาและวิทยาศาสตร์มูลนิธิพันดาราร่วมกับศูนย์จริยธรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีคณะอักษรศาสตร์.
วุฒิสาร ตันไชย. (2552). รายงานการสัมมนาเรื่อง นิติรัฐ ทางรอดหรือทางเลือกของประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
สเก็ดดาว วัฒนลี. (2550). เศรษฐกิจพอเพียงความสุขแลัการพะฒนาที่ยะ่งยืน. กรุงเทพมหานคร: สำนักนายกรัฐมนตรี สำนักพัฒนานโยบายสาธารณะ. สดใส ขันติวรพงศ์. (2551). ความสุข: คู่มือพัฒนาทักษะชีวิตที่สำคัญที่สุด. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์สวนเงินมีมา.
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สถาบันเพื่อการวิจัยและส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง. (2551). โครงการเศรษฐกิจสมดุลใหม่ ความสมดุลทางเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม สู่การพัฒนาที่มั่นคงและยั่งยืน. เชียงใหม่: ผู้แต่ง.
สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2547) รายงานสถานการณ์ความอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกันในสังคมไทยในระดับเมืองและชนบท. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2547). พักชำระหนี้และลดภาระหนี้ให้แก่เกษตรกรรายย่อย. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2549, มีนาคม 22). ตรวจแถวนโยบายประชานิยม เม็ดเงินสู่รากหญ้าควรเดินหน้าหรือถอยหลัง. ไทยรัฐ, หน้า 5.
สมชัย จิตสุชน. (2544, พฤศจิกายน). การพัฒนากับความยากจน. ใน ยุทธศาสตร์กับการขจัดปัญหาความยากจน. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, สถาบันองค์กรพัฒนาชุมชนร่วมกับมูลนิธิชัยพัฒนา.
สมชัย จิตสุชน. (2544, พฤศจิกายน). การพัฒนากับความยากจน. เอกสารนำเสนอ ในการสัมมนาวิชาการ ประจาปี 2544 เรื่องยุทธศาสตร์การขจัดปัญหาความยากจน, สถาบันวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศไทย.
สะเก็ดดาว วัฒนลี. (2549). การวิจัยเชิงปริมาณเรื่องความสุขประสบการณ์จากต่างประเทศ. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานพัฒนานโยบายสาธารณะ.
สัญญา คุณากร. (2552, ตุลาคม 8). การสัมภาษณ์พนักงานต้อนระบบนเครื่องบินการบินไทย [รายการโทรทัศน์]. กรุงเทพมหานคร: สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบก.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2553) รายงานสถานการณ์ความอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกันในสะงคมไทยในระดับเมืองแลัชนบท. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2545). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2551). แผนพะฒนาเศรษฐกิจสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1-10. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2553). ริเริ่มพะฒนาเครื่องมือวะดผลการพะฒนาปรัเทศตามแนวทาง “เศรษฐกิจพอเพียง”. ค้นเมื่อ 6 กันยายน 2553, จาก www.nesdb.go.th/portals/0/news /common/CMU.pdf
สำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2550). เอกสารแผนพะฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
สำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2551). เอกสารการประเมินผลรัฐบาล พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2551). โครงการจิตตปัญญาศึกษาสู่สถาบันการศึกษาแลัโครงการวิจัยประเมินผลคุณภาพคนไทย การวิจัยพัฒนาตัวชี้วัดสุข ดี เก่ง. ค้นเมื่อ 4 สิงหาคม 2553, จาก http://www.thaihealth.or.th/node/8560
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2547). การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารงานของรัฐบาลปี 2547. วารสารสถิติ, 15(1), 8.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2547). รายงานสรุปการสำรวจความคิดเห็นของปรัชาชนเกี่ยวกะบผลงานระฐบาล พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ในรอบ 4 ปี พ.ศ. 2547. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
สำนักพัฒนาและส่งเสริมการบริหารราชการจังหวัด สป.มท. (2553). แผนพัฒนาจังหวัดกระทรวงมหาดไทย (พ.ศ. 2553-2556). กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
สำนักพัฒนาสุขภาพจิต. (2544). แบบสอบถามสุขภาพจิต. กรุงเทพมหานคร: กรมสุขภาพจิต.
สุจิตรา อ่อนค้อม. (2545). ศาสนาเปรียบเทียบ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ดวงแก้ว.
สุรพงษ์ สืบวงลี. (2551, กันยายน 30). เร่งสร้างภูมิคุ้มกะนสกะดวิกฤตแฮมเบอร์เบอร์. [รายการสุรนันท์วันนี้]. กรุงเทพมหานคร: สถานีโทรทัศน์ TNN.
สุวิทย์ เมษิณทรีย์. (2549). จุดเปลี่ยนประเทศไทยเศรษฐกิจพอเพียงในกรัแสโลกาภิวะตน์. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์การเงิน. ธนาคาร. สุวิทย์ เมษิณทรีย์. (2552). การไหลลื่นของโลกสมัยใหม่. เอกสารนำเสนอในการประชุมสัมมนาประจำปีของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการพลเรือน, สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการพลเรือน.
เสรี พงศ์พิศ. (2550ก). เศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์แม็ค.
เสรี พงศ์พิศ. (2550ข). เศรษฐกิจพอเพียงเกิดได้ ถ้าใจปรารถนา. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์พลังปัญญา เสรี พงศ์พิศ. (2552). วิถีสู่ชุมชนพอเพียง. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์พลังปัญญา. เสาวลักษม์ กิตติประภัสร์. (2550). การวะดความสุขของคนในชาติแลันโยบายที่ส่งเสริมให้คนเป็นสุขควรเป็นอย่างไร. กรุงเทพมหานคร: สานักงานพัฒนานโยบาย-สาธารณะ.
อภิชัย พันธเสน. (2544). พุทธเศรษฐศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์อมรินทร์.
อภิชัย มงคล และคนอื่น ๆ. (2547). รายงานการวิจัยเรื่อง การพะฒนาแลัทดสอบดะชนีชี้วะดสุขภาพจิตคนไทยฉบะบใหม่. ขอนแก่น: โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์.
อรสุดา เจริญรัถ. (2546). เศรษฐกิจพอเพียงภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสะงคมไทย.กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิถีทรรศน์ มูลนิธิวิถีทรรศน์. อุไรวรรณ ภู่วิจิตสุทิน. (2550, กรกฏาคม 13). อมาตยา เซน. กรุงเทพธุรกิจ, หน้า 6.
เอนก เหล่าธรรมทัศน์. (2549). ทะกษิณา-ปรัชานิยม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มติชน.
เอแบคโพลล์. (2549). ความสุขมวลรวมของคนไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักวิจัยเอแบคโพลล์.
เอแบคโพลล์. (2551ก, ธันวาคม 29). ความสุขมวลรวมของประชาชนคนไทยประจำเดือนตุลาคม - ต้นเดือนพฤศจิกายน 2551: กรณีศึกษาตัวอย่างประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งใน 18 จังหวัดของประเทศ.โลกวันนี้, หน้า 4.
เอแบคโพลล์. (2551ข). แนวโน้มดัชนีความสุขมวลรวมของปรัชาชนภายในปรัเทศ. ค้นเมื่อ 18 มิถุนายน 2551, จาก http://www.ryt9.com/s/abcp/574404
เอแบคโพลล์. (2551ค). ดัชนีความสุขมวลรวมของสาธารณชนในช่วงหละงการเปลี่ยนขั้วทางการเมือง. ค้นเมื่อ 18 กุมภาพันธ์ 2551, จาก http://www.ryt9.com/s/abcp-/491918
เอแบคโพลล์. (2552). ความสุขมวลรวมของคนไทยในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวามหาราช: กรณีศึกษาตัวอย่างประชาชนระดับครัวเรือนใน 17 จังหวัดของประเทศ. ค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2552, จาก http://www.abacpoll.au.edu/flash/2552/hotpoll080152
Anderson, E. J. (1984). Public policy making. New York: Houghton Mifflin College Div.
Anielski, M. (2007). The economics of happiness. Vancouver, Canada: New Society.
Aridas, T. (2000). The happiest countries in the world. Retrieved March 27, 2001, from http://www.gfmag.com/tools/global-database/ne-data /10294-the-happiest-countries-in-the-world.html
Baksi, R. (2547). บทสะมภาษณ์นายกระฐมนตรีภูฐาน ในรายการ Q & A in Time of India. เอกสารนาเสนอในการประชุม Gross National Happiness Conference, องค์การ-สหประชาชาติ.
Bentham, J. (1948). An introduction to the principles of morals and legislation. New York: New American Library. Brooks, C. A. (2008). Gross national happiness. New York: Basic Books.
Catherine, F. M. (2007). Neo-happiness approach: Lesson from past paradigms to promote the inclusion of happiness in international development. Chulalongkorn Journal of Economic, 19(3), pp. 254-259.
Donnelley, S. (2004). How Bhutan can measure and develop (GNH) gross national happiness. Thimphu, Bhutan: The center for Bhutan studies.
Dunn, W. N. (1994). Public policy analysis an introduction. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.
Dutt, N. (1960). Early monastic buddhism. New York: Calcutta Oriental Book.
Dwivedi, O. P. (1994). From underdevelopment to sustainable development. London, United Kingdom: Macmillan. Dye, T. R. (1998). Understanding public policy. Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall.
Eric, W. (2008). The geography of bliss. Amsterdam, Netherlands: Grand Central.
Eric, W. (2009). The geography of bliss: One Grump’s search for the happiest places in the world. Amsterdam, Netherlands: Grand Central.
Eystone, R. (1942). From social issues to public policy. Southeast, WA: Library of Congress Cataloging Data.
Fowler, J. H., & Christakis, N. A. (2008). Dynamic spread of happiness in a large social network: Longitudinal analysis over 20 years in the framingham heart study. British Medical Journal, 338, 23-31.
Haidt, J. (2006). The happiness hypothesis. Great Britain, WA: Arrow Books. Hatry, P. H., Wholey, J. S., & Newcomer, E. K. (1994). Handbook of practical. San Francisco: Jossey-Bass.
Hogwood, B. W., & Gunn, L. A. (1989). Policy analysis for the real world. Oxford, United Kingdom: Oxford University Press.
Hoiberg. (2007). Happiness and economies growth: Green growth as regional strategy for the well-being of all environment sustainable development division. Bangkok, Thailand: UNESCAP.
Jacobs, N. (1971). Modernization without development, Thailand as an Asian case study. New York: Praeger.
John, K. W. (2003). Agendas, alternatives, and public policies. New York: Longman.
Joseph, S. E., & Chalton. (2005). Fair trade for all. Oxford, United Kingdom: Oxford University Press.
Kahnemen, D., Diener, E., & Schwarz, Nt. (1999). Well-being the foundations of hedonic psychology. New York: Russell sage Foundation.
Kathy, C. (2000). Grounded theory: Objectives and constructive methods. In N. K. Dengin & Y. S. Lincoln (Eds.). Handbook of qualitative research (2nd ed., pp. 1-4). Thousand Oaks, CA: Sage.
Kingdon, J. W. (2010). Agendas, alternatives, and public policies. Gambrills, MD: Pearson Education.
Lane, R. (2001). The loss of happiness in market democracies. New Haven, CT: Yale University Press.
Layard, R. (2005). Happiness, lesson from a new science. London, United Kingdom: Penguin Group.
Lester, J. P., & Stewart, J. (2000). Public policy: An evolutionary approach. Belmont, CA: Wadaworth.
Lowi, J. T. (1946). American business. Journal World Politics, 16, 677-715.
Lugino, B., & Porta, P. L. (2005). Economic & happiness: Framing the analysis. Oxford, United Kingdom: Oxford University Press.
Lyubomirsky, S. (2007). The how of happiness. New York: Penguin.
Lyubomirsky, S. (2008). The how of happiness: A scientific approach to getting the life you want. New York: Penguin. Mark, N. (2552). ดัชนีโลกไม่มีสุข. (เนาวนิจ สิริผาศวิวัฒน์, ผู้แปล). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ภาพพิมพ์. Martinussen, J. (1997). Society, state and market. New York: Fernwood.
Martinussen, J. (1998). Aristotle the Nicomachen ethics. Oxford, United Kingdom: Oxford University Press. Mcmahon, D. M. (2006). Happiness: A history. New York: Group West.
Meadows, D. H. (2519). The limits to growth. (อมร รักษาสัตย์ และปฐม มณีโรจน์, ผู้แปล). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แพร่พิทยา.
Mill, J. S. (1867). Utilitarianism. Northwest, WA: Bobbs-Merrill.
Mulgan, G. (2006). Good and bad power. London: Allen Lane.
Ng, Y. -K., & Ho, S. L. (2006). Happiness and public policy. New York: Palgrave Macmillan.
Okun, A. M. (1975). Equality and efficiency: The big tradeoff. Northwest, WA: Brookings.
Parsons, W. (1995). Public policy: An introduction to the theory and practice of policy analysis. Great Britain, WA: Edward Elgar.
Putt, A. D., & Springger, J. F. (1989). Policy research: Concept, methods, and applications. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.
Sen, A. (1999). Development as freedom. New York: Random House.
Shumacher, E. F. (1993). Small is beautiful. London: Vintage Book.
Thinley, Y. J. (2005). What does gross national happiness (GNH) mean?. Halifax, Canada: Jossey-Bass.
Vedung, E. (2000). Public policy and program evaluation. Upper Saddle River, NJ: Transaction.
Veenhoven, R. (2004). Happiness as aim in public policy: The greatest happiness principle published. In A. Linley & S. Joseph (Eds.). (2nd ed., pp. 658-678). Positive psychology in practice. Hoboken, NJ: John Wiley and Sons. Veenhoven, R. (2007). Happiness in nation. Rotterdam, Netherlands: Erasmus University of Rotterdam.
Wayne, P. (1995). An introduction to the theory and practice of policy analysis. Northampton, MA: Edward Elgar.
Weimer, D. L., & Vining, A. R. (1989). Policy concepts and practice. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.
White, N. (2006). A brief history of happiness. Flynn, Australia: Blackwell.
Wholey, S. J., Hatry, P. H., & Kathryn, N. E. (1994). Handbook of practical. Flynn, Australia: Blackwell.