การเสริมสร้างความเข้มแข็งของฝ่ายนิติบัญญัติในกระบวนการงบประมาณแผ่นดิน : บทบาทของคณะกรรมาธิการติดตามการบริหารงบประมาณ (Public Account Committee : PAC )

Main Article Content

Supot Saikaew

Abstract

     โดยทั่วไปแล้วในประเทศที่จัดระบบปกครองในระบอบประชาธิปไตย รัฐธรรมนูญมักจะกาหนดให้รัฐสภาหรือฝ่ายนิติบัญญัติเป็นสถาบันหลัก หรือเป็นองค์อานาจหลักที่มีความสาคัญอย่างยิ่งของระบบการเมืองการปกครอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งสาหรับในประเทศใช้รูปแบบของรัฐบาลในระบบรัฐสภา รัฐธรรมนูญมักจะวางกรอบให้รัฐสภาเป็นสถาบันหรือองค์กรทางการเมืองที่มีอานาจอันล้นพ้นหาที่สุดไม่ได้ (Supremacy of the Parliament) กล่าวคือ นอกจากรัฐธรรมนูญจะกาหนดให้รัฐสภามีอานาจอันชอบธรรมในการออกกฎหมาย การให้ความไว้วางใจรัฐบาลในการปฏิบัติหน้าที่ และการสอดส่องดูแลควบคุมการทางานของฝ่ายบริหารแล้ว รัฐธรรมนูญยังจะมีการกาหนดอานาจหน้าที่ให้สถาบันรัฐสภาสามารถเข้ามามีบทบาทและเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาลได้อีกด้วย อันได้แก่ การกาหนดให้รัฐสภามีบทบาทในการตัดสินใจทางการเมืองว่า ใคร ควรจะได้อะไร และอย่างไร อันเป็นบทบาทที่ดาเนินการผ่านกระบวนการวิเคราะห์ พิจารณาอนุมัติและจัดสรรงบประมาณแผ่นดินนั่นเอง (ทศพร ศิริสัมพันธ์, 2550)


     รัฐสภาจึงเป็นสถาบันทางการเมืองที่ทาหน้าที่เป็นตัวแทนของประชาชนพลเมืองในการกากับดูแลและตรวจสอบระบบบริการสาธารณะของรัฐ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนพลเมือง โดย 1) รัฐสภาเป็นผู้ให้ความเห็นชอบร่างกฎหมายเกี่ยวกับการภาษีอากรที่รัฐบาลเสนอ ซึ่งเป็นการให้รัฐบาลใช้อานาจมหาชนจัดเก็บภาษีจากประชาชนพลเมือง เพื่อนาไปใช้ในการจัดผลิตบริการสาธารณะ 2) รัฐสภาทาหน้าที่ให้ความเห็นชอบร่างกฎหมายงบประมาณรายจ่ายประจาปีที่รัฐบาลเสนอ เพื่อให้รัฐบาลสามารถใช้จ่ายเงินในการจัดบริการสาธารณะ และดาเนินกิจกรรมอื่นๆ อันเป็นภารกิจตามกฎหมายของรัฐบาล 3) รัฐสภาต้องทาหน้าที่คุ้มครองผลประโยชน์ของประชาชนพลเมือง โดยการตรวจสอบติดตามและประเมินผลการดาเนินงานของรัฐบาล และดาเนินมาตรการใดๆ ที่จาเป็น เพื่อให้รัฐบาลดาเนินกิจกรรมที่เป็นประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนพลเมือง (จรัส สุวรรณมาลา 2546)


     การที่รัฐธรรมนูญกาหนดให้รัฐสภามีอานาจในเห็นชอบร่างกฎหมายงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยต้องการวิเคราะห์ พิจารณาอนุมัติและจัดสรรงบประมาณแผ่นดินนี้ (มาตรา 168 วรรคหนึ่ง) อาจกล่าวอีกอย่างหนึ่งได้ว่า รัฐสภาเป็นผู้มีอานาจในการเป็นผู้คุมถุงเงิน (Power of the purse) ของรัฐบาล โดยสามารถแยกการแสดงบทบาทการเป็นผู้คุมถุงเงินของรัฐสภาออกได้เป็นสองทางคือ การควบคุมก่อนใช้จ่ายเงิน (Pre-control) ซึ่งโดยทั่วไปรัฐสภามักจะดาเนินการโดยมีการแต่งตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญขึ้นทาหน้าที่วิเคราะห์ พิจารณากลั่นกรองการจัดสรรงบประมาณเป็นการเฉพาะ และการควบคุมหลังการใช้จ่ายเงิน (Post-Control) ซึ่งมักจะอาศัยกลไกการจัดตั้งคณะกรรมาธิการสามัญที่เรียกว่า คณะกรรมาธิการติดตามการบริหารงบประมาณ (Public Account Committee : PAC ) เข้ามาทาหน้าที่ในการติดตามตรวจสอบการใช้จ่ายเงินงบประมาณแผ่นดิน (ทศพร ศิริสัมพันธ์, 2550)

Article Details

How to Cite
saikaew, supot . (2020). การเสริมสร้างความเข้มแข็งของฝ่ายนิติบัญญัติในกระบวนการงบประมาณแผ่นดิน : บทบาทของคณะกรรมาธิการติดตามการบริหารงบประมาณ (Public Account Committee : PAC ). King Prajadhipok’s Institute Journal, 7(1). Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/kpi_journal/article/view/244606
Section
Original Articles

References

จรัล ดิษฐาอภิชัย. 2540. แนวทางการยกเครื่องรัฐสภาไทย. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, สถาบันนโยบายศึกษา.

ชัยสิทธิ์ เฉลิมมีประเสริฐ. 2541. การศึกษาแนวทางเพื่อเพิ่มพูนศักยภาพของงานฝ่ายนิติบัญญัติ. รายงานการวิจัย, กรุงเทพมหานคร : สานักเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. 2546. ความพร้อมของหน่วยงานภาครัฐในการบริหารจัดการงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ชาติ (Strategic Performance Based Budgeting : SPBB) และกรณีตัวอย่างกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. สถาบันพัฒนานโยบายและการจัดการ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชัยอนันต์ สมุทวณิช. 2517. การปฏิรูปรัฐสภา : ข้อเสนอเบื้องต้นในการปรับปรุงรัฐสภาไทย. กรุงเทพมหานคร : พิฆเณศ.

ชัยอนันต์ สมุทรวณิช. 2529. การพัฒนาสมรรถนะขององค์กรนิติบัญญัติ. กรุงเทพมหานคร : เอกสารวิจัย.

ทศพร ศิริสัมพันธ์ และคณะ. 2546. การพัฒนาระบบและกลไกของการตรวจสอบการบริหารราชการแผ่นดิน. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

ทศพร ศิริสัมพันธ์ และคณะ. 2546. รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนระบบและกลไกของการตรวจสอบการบริหารราชการแผ่นดิน. กรุงเทพมหานคร : สนับสนุนโดยสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ธงทอง จันทรางศุ. 2538. การปรับปรุงกระบวนการทางานของคณะกรรมาธิการ. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

นรนิติ เศรษฐบุตร และสมคิด เลิศไพฑูรย์. 2546. ประสิทธิผลของรัฐสภาไทย. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และสถาบันพระปกเกล้า.

ปธาน สุวรรณมงคล. 2535. บทบาทของคณะกรรมาธิการสามัญสภาผู้แทนราษฎร. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

พรชัย นุชสุวรรณ. 2545. ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ (SPBB) . เอกสารประกอบการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ. สถาบันนโยบายและการจัดการ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ไพบูลย์ วราหะไพฑูรย์. 2541. บทบาทอานาจหน้าที่ของคณะกรรมาธิการประจำวุฒิสภา. วิทยานิพนธ์ศิลปะศาสตร มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคาแหง.

มนตรี เต่งตระกูล. 2517. รัฐสภาไทย : ศึกษาเฉพาะกรณีปัญหาความอ่อนแอ. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร มหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มนตรี รูปสุวรรณ. 2529. กฎหมายรัฐสภา. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยรามคาแหง.

มนตรี รูปสุวรรณ. 2530. ปัญหาและอุปสรรคการพัฒนาสภาผู้แทนราษฎรไทย : ศึกษาเฉพาะกรณีสภาผู้แทนราษฎร ชุด พ.ศ. 2522 – 2526, ชุด 2526-2529 และชุดปัจจุบัน.

มนตรี รูปสุวรรณ. 2542. เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ (รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540). กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์วิญญูชน.

วรเดช จันทรศร. 2535. การปรับปรุงโครงสร้างของสานักงานเลขาธิการรัฐสภา. รายงานการวิจัยรัฐสภา, มีนาคม.

วรเดช จันทรศร. 2539. ปรัชญาการบริหารภาครัฐ. กรุงเทพมหานคร : คณะกรรมการปฏิรูประบบราชการ สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการปฏิรูประบบราชการ.

วันนพ ศรีประภาภรณ์. 2540. รัฐสภาไทย : การปรับปรุงโครงสร้างและกระบวนการจัดการเพื่อรองรับรัฐธรรมนูญใหม่. ภาคนิพนธ์ศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ศักดิ์ชัย จีรพรชัย. 2542. บทบาทของคณะกรรมาธิการในระบบรัฐสภาไทย : กรณีศึกษาคณะกรรมาธิการตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. วิทยานิพนธ์ศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคาแหง.

สภาบันพระปกเกล้า. 2543. โครงการศึกษาวิจัยเพื่อปรับปรุงระบบงานของหน่วยงานในสังกัดรัฐสภา. กรุงเทพมหานคร : สถาบันพระปกเกล้า, สำนักวิชาการและการวิจัย.

สภาบันพระปกเกล้า. 2550. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550.

IPU, UNDP,WBI, UNIFEM. 2004. Parliament, the Budget and Gender.

Joachim Wehner. 2007. Strengthening Legislative Financial Scrutiny in Developing Countries World Bank Institute.

Joachim Wehner. 2004. Back from the Sidelines? Redefining the Contribution of legislatures to the Budget Cycle World Bank Institute.

Joachim Wehner. 2002. Best Practices of Public Accounts Committees, Handbook for Public Accounts Committees commissioned, The Association of Public Accounts Committees (APAC) in South Africa.

John K. Johnson. 2005. The Role of Parliament in Government World Bank Institute.

WBI – Parliamentary Centre. 2007. Legislating Poverty in Africa, Draft Working Paper, WBI – Parliamentary Centre, May 2007.

World Bank Institute. 2005. Scrutinizing Public Expenditures : Assessing the Performance of Public Accounts Committees World Bank Policy Research Working Paper 3613, May 2005.

http://www.parliament.vic.gov.au/paec/responsibilities.html