Boards of Directors’ Role in Enhancing Corporate Governance in Thai Public Organization

Main Article Content

Dittima Vichairat

Abstract

     การวิจัยเรื่อง “บทบาทของคณะกรรมการในการเสริมสร้างบรรษัทภิบาลในองค์การของรัฐในประเทศไทย” มาจากความเชื่อของผู้วิจัยว่า ภาครัฐสามารถใช้กลไกในการบริหารจัดการของภาคเอกชนมาปรับใช้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดาเนินงานของภาครัฐได้ บรรษัทภิบาลหรือการกากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มีความสาคัญต่อบริษัท จดทะเบียน โดยแสดงให้เห็นถึงการมีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ ซึ่งช่วยสร้างความเชื่อมั่นและความมั่นใจต่อผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน ผู้มีส่วนได้เสียและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย จึงกล่าวได้ว่า การกากับดูแลกิจการที่ดีเป็นเครื่องมือ เพื่อเพิ่มมูลค่าและส่งเสริมการเติบโตอย่างยั่งยืนของบริษัท ตลาดหลักทรัพย์ได้ดาเนินการอย่างต่อเนื่องในการส่งเสริมให้บริษัทจดทะเบียนมีระบบการกากับดูแลกิจการที่ดี โดยมุ่งหวังให้คณะกรรมการและฝ่ายจัดการของบริษัทจดทะเบียนทุกบริษัทพัฒนาระดับการกากับดูแลกิจการให้สามารถเทียบเคียงได้กับมาตรฐานสากล เพื่อประโยชน์ต่อบริษัทและเพื่อประโยชน์โดยรวมต่อความสามารถในการแข่งขัน และการเติบโตของตลาดทุนไทย ตลอดจนสนับสนุนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืนของประเทศ


     หลักการกากับดูแลกิจการที่ดีสาหรับบริษัทจดทะเบียน พ.ศ. 2549 ของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย เป็นการนาข้อพึงปฏิบัติจากหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี 15 ข้อที่ตลาดหลักทรัพย์ได้ประกาศใช้เมื่อเดือนมีนาคม 2545 และนามาปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมให้เทียบเคียงกับหลักการกากับดูแลกิจการของ The Organization for Economic Co-operation and Development (OECD Principles of Corporate Governance ปี 2004) ซึ่งเป็นต้นแบบของกฎหมายและหลักปฏิบัติของการกากับดูแลของรัฐบาล และตลาดหลักทรัพย์ทั่วโลก รวมกับข้อเสนอแนะของธนาคารโลกจากการเข้าร่วมโครงการ Corporate Governance–Reports on the Observance of Standards and Codes (CG-ROSC) ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ประกอบด้วย หลักการและแนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการกากับดูแลกิจการ ซึ่งเนื้อหาแบ่งเป็น 5 หมวด ได้แก่ (1) สิทธิของผู้ถือหุ้น (2) การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน (3) บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย (4) การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส (5) ความรับผิดชอบของคณะกรรมการซึ่งในหมวดความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทจดทะเบียนนี้เองที่ทาให้ผู้วิจัยเชื่อว่า สามารถนามาปรับใช้ให้เป็นประโยชน์กับองค์การของรัฐที่มีรูปแบบการบริหารโดยคณะกรรมการ ซึ่งรัฐมีวัตถุประสงค์ให้มีการบริหารที่คล่องตัว สามารถกาหนดกระบวนการบริหารงานภายในให้สอดคล้องกับประเภทภารกิจ เพื่อให้เกิดการทางานอย่างมีประสิทธิภาพมากกว่ารูปแบบองค์การที่เป็นหน่วยราชการ

Article Details

How to Cite
vichairat, dittima . (2020). Boards of Directors’ Role in Enhancing Corporate Governance in Thai Public Organization. King Prajadhipok’s Institute Journal, 7(2). Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/kpi_journal/article/view/244613
Section
Original Articles

References

กระทรวงการคลัง, สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ. (มกราคม 2552). แนวนโยบาย ผู้ถือหุ้นภาครัฐที่มีต่อรัฐวิสาหกิจ. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.

กระทรวงการคลัง, สำนักรัฐวิสาหกิจและหลักทรัพย์ของรัฐ. (กุมภาพันธ์ 2544). หลักเกณฑ์และ แนวทางการกำกับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจ. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2542). ข้อพึงปฏิบัติที่ดีสาหรับกรรมการบริษัทจดทะเบียน. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2549). รายงานประจำปี. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2549). หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีสาหรับบริษัทจดทะเบียน. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.

บริษัท ไทยเรทติ้งแอนด์อินฟอร์เมชั่นเซอร์วิส จากัด (TRIS). (ม.ป.ป.). หลักเกณฑ์การประเมินบทบาทคณะกรรมการ รัฐวิสาหกิจประจำปีบัญชี 2552. ค้นเมื่อ 17 ธันวาคม 2551, จาก http://www.tris.co.th/index.html

พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546.

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2545.

พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม.

รัฐวิสาหกิจ 53 แห่ง. (2549). สรุปผลการประเมินผลการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ.

อุทัย เลาหวิเชียร. (2544). รัฐประศาสนศาสตร์: ลักษณะวิชาและมิติต่าง ๆ. หน้า 78-83.

Appleby, Paul, “Government is different”, in Michael D. Reagan (ed.) (1968). The administration of public policy, Illinois Scholl, Foreman and Company.

Cadbury & Sir Adrian. (1996). Corporate governance: Brussels. Brussels: instituut voor bestuurders.

Carver, J., & Carver, M. (2006). Reinventing your board. California: John Wiley & Sons, Inc.

Carver, J., & Oliver, C. (2002). Corporate boards that create value: governing company performance from the board room. San Francisco, CA: Jossey Bass, John Wiley.

Colly, John L. Jr. (et al.). (2005). What is corporate governance?. New York: McGraw-Hill,

Davis, J. H., Schoorman, F. D., & Donaldson, L. (1997). Toward a stewardship theory of management. Academy of management review, 22(1), 20-47.

Donaldson, L. (1990). The ethereal hand: organizational economics and management theory. The academy of management, 15(3), 369-381.

Donaldson, L., & Davis, J. H. (1991). Stewardship theory or agency theory: CEO governance and shareholder returns. Australian journal of management, 16(1), 49-65.

Eisenhardt, Kathleen M. (1989). Agency theory: An assessment and review. Academy of management review, 14, 57-74.

Fama, E. F., & Jensen, M. C. (1983). Agency problems and residual claims, Journal of law and economics, XXVI, 327-349.

Fama, E. F., & Jensen, M. C. (1983). Separation of ownership and control. Journal of law and economics, 88(2), 301-325.

Flynn, Norman (1997). Public sector management (3rd ed.). London: Prentice-Hall Harvester, Wheatsheaf.

Friedrich, in Gary L. Wamsley (1990). Refounding public administration, U.S.A.: Sage Publication, Inc.

Harvard. (2000). Harvard business review on corporate governance. Boston: Harvard business school publishing.

Hughes, Owen E. (2003). Public management and administration an introduction (3rd ed.). New York: Palgrave Macmillan.

Jensen, M. (1993). The modern industrial revolution, exit, and the failure of internal control systems. Journal of finance, 48, 831-880.

Jensen, M. C. (2003). A theory of the firm: Governance, residual claims, and organizational forms. Massachusetts: Harvard University Press.

Jensen, M. C., & Meckling, W. H. (1976). Theory of the firm: Managerial behavior, agency costs, and ownership structure. Journal of financial economics, 3, 305-350.

Johnson, J. L., Daily, C. M., & Ellstrand, A. E. (1996). Boards of directors: A review and research agenda. Journal of management, 22(3), 409-438.

Kiel, G. C., & Nicholson, G. J. (2003). Boards that work: A new guide for directors. Australia: Mc-Grow Hill.

Lipman, Frederick, D., & Lipman, L. Keith. (2006). Corporate governance best practices: Strategies for public private and not-for-profit organizations. U.S.A.: John Wiley & Sons, Inc.

Marx, Fritz Morstein (1946). Elements of public administration. New York: Prentice-Hall.

Monks, Robert A.G., & Minow, Nell, Corporate Governance. (Blackwell 2004) ISBN.

OECD. (1999, 2004). Principles of corporate governance. Paris: OECD.

Peters, B. G., & Savoie, D. J. (Ed.). (2000). Governance in the twenty-first century: Revitalizing the public service. Montreal & Kingston: McGill-Queen’s University Press.

Schilling, M. A. (2000). Decades ahead of her time; advancing stakeholder theory through the ideas of Mary Parker Follett. Journal of management history, 6(5), 224-242.

Simon, Herbert, in Gary L. Wamsley (1990). Refounding public administration. U.S.A.: Sage Publication, Inc.

Van den Berghe, L. A. A., & Levrau, A. (2004). Evaluating boards of directors: what constitutes a good corporate board? Corporate governance: An international review, 12(4), 461-478.

Waldo, Dwight (1948). The administration state: A study of the political theory of American public administration. New York: The Ronal Press Co.