นโยบายการจัดการสิ่งแวดล้อมบนฐานของทุนทางสังคมของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: แนวคิดและ วิธีการบริหารงานที่เป็นเลิศ (Best Practices)

Main Article Content

Piyapong Boossabong

Abstract

     ภายหลังจากที่ทั้งโลกแตกตื่นกับปรากฏการณ์การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิของโลก (Climate change) และภาวะโลกร๎อน (Global warming) ประเด็นเรื่องการจัดการสิ่งแวดล๎อมได๎รับการตระหนักในความสาคัญอยำงทวีคูณ เห็นได๎จากการกลายเป็นประเด็นวาระ (Agenda) ในเวทีการหารือระหวำงประเทศ อาทิ การประชุมที่กรุงเบลเกรด (ยูโกสลาเวีย) เมืองทบิลิชี (สหภาพโซวียต) กรุงบรัสเซล (สวิสเซอแลนด์) เมืองรีโอ เดอ จาเนโร (บราซิล) และโดยเฉพาะอยำงยิ่งที่เกียวโต (ญี่ปุ่น) (วรวุฒิ โรมรัตนพันธ์, 2551: 115-155) รวมถึง การกลายเป็นหัวข๎อของการประชุมวิชาการอยำงกว๎างขวาง จนกลำวได๎วำเรื่องนี้ถูกผูกโยงไปกับทุกเรื่อง ทุกแวดวง และทุกศาสตร์ เพราะเป็นโจทย์เกี่ยวกับการคงอยูํของโลก


     ด๎วยเหตุที่กลายเป็นประเด็นระดับโลกหรือนานาชาติและมีฐานคติ (Basic assumption) ในทานองวำสาเหตุของปรากฏการณ์ที่นำสะพรึงกลัวนี้ เกี่ยวข๎องกับชั้นบรรยากาศที่ถูกทาลาย ซึ่งอยูํสูงเกินกวำที่จะแหงนหน๎ามองเห็นและมีสาเหตุหลักมาจากการปลํอยก๏าซที่มีชื่อเรียกทางวิทยาศาสตร์โดยโรงงานอุตสาหกรรม โดยเฉพาะในประเทศอุตสาหกรรมหรือประเทศมหาอานาจทางเศรษฐกิจทั้งหลายที่เลํนแงํกันโดยการไมํยอมลงนามในปฏิญญาบางอยำง ทาให๎องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่น ซึ่งเป็นหนํวยเล็กๆ เข๎าใจกันไปวำตนแทบจะไมํมีนัยยะใดๆ ตํอเรื่องนี้เลย หรือ หากจะทาอะไรได๎บ๎างก็เป็นแตํเพียงการตามโลกหรือตามกระแสนิยม (Trend) ไปเทำนั้นเอง


     อยำงไรก็ตาม ข๎างต๎นถือเป็นความเข๎าใจผิดรํวมของหนํวยการบริการสาธารณะระดับท๎องถิ่นทั้งหลายเรื่องใหญํเรื่องหนึ่งทีเดียว (Common misunderstanding) เนื่องจาก ข๎อเท็จจริงก็คือ ก๏าซที่มีผลตํอการทาลายชั้นบรรยากาศมาจากแหลํงที่หลากหลาย อาทิ ก๏าซมีเทนจากการเกษตรกรรม คาร์บอนดา (Black carbon) จากเตาถำน และที่สาคัญคือ ของเสียจากครัวเรือน ซึ่งข๎อมูลจากสานักงานกรุงเทพมหานครในปี 2551 สะท๎อนวำน้าเสีย 70% ในกรณีเมืองหลวงของไทยมาจากครัวเรือน ที่เหลือเป็นน้าเสียจากพาณิชยกรรมและภาคอุตสาหกรรม ทั้งนี้ น้าเสียกํอให๎เกิดก๏าซมีเทนที่เป็นสาเหตุของก๏าซเรือนกระจกที่สํงผลให๎เกิดภาวะโลกร๎อน จึงกลำวได๎วำของเสียจากครัวเรือนเป็นสาเหตุหลักสาเหตุหนึ่งของปัญหาโลกร๎อน ไมํแพ๎สาเหตุอื่นทั้งปวงรวมถึงจาเลยของโลกอยำงภาคอุตสาหกรรมและประเทศมหาอานาจที่ไมํยอมลงนามในพิธีสารเกียวโต ซึ่งชัดเจนวำภารกิจในเรื่องของการจัดการของเสีย (Wastes management) นั้น เป็นที่รับรู๎กันในทุกระบอบการปกครองวำเป็นภารกิจขององค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่น ดังนั้น องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นจึงเกี่ยวข๎องโดยตรงกับการแก๎ปัญหาการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิและภาวะโลกร๎อน


     มากไปกวำนั้น สิ่งที่ปรากฏให๎เห็นในแทบทุกท๎องถิ่นก็คือ การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิโลกและภาวะโลกร๎อนนั้นสามารถสัมผัสได๎ อาทิ ความร๎อนระอุของผืนนาจนชาวนาที่มีความอดทนและชินชากับความลาบากยังต๎องเบือนหน๎าหนี การที่หลายพื้นที่ไมํสามารถทาการเกษตรตามปกติได๎จากความผิดเพี้ยนของฤดูกาล หลายแหํงเกิดน้าทํวมขัง รวมถึง บางปีการเพาะปลูกสามารถขายผลผลิตได๎ในราคาสูงจนอดที่จะดีใจไมํได๎ ทั้งที่แท๎ที่จริงแล๎วที่เป็นเชํนนั้น เนื่องจาก ผลผลิตทางการเกษตรในที่อื่นๆ เสียหายไปมากจากความวิปริตของอากาศ อาทิ ในบางพื้นที่พบเกล็ดน้าแข็งเกาะอยูํบนรวงข๎าว และบางพื้นที่ผลผลิตตํอไรํต่าอยำงนำตกใจ จนทาให๎ปริมาณการผลิตรวมของโลกลดลง ซึ่งแนํนอนวำราคาผลผลิตยํอมสูงตามหลักอุปสงค์อุปทาน ด๎วยเหตุนี้ องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นจึงไมํสามารถปฏิเสธปัญหาโลกร๎อนได๎และต๎องเข๎ามาดาเนินการเพื่อแก๎ปัญหาที่ไมํได๎เกิดขึ้นที่อื่นใดเลย แตํเกิดขึ้นที่ชุมชนท๎องถิ่นพื้นที่ของตนเอง จนเทียบจะเรียกได๎วำมันไมํใชํภาวะโลกร๎อนอยำงเดียว แตํเป็นภาวะท๎องถิ่นร๎อนด๎วย (Local warming)


     จากที่กลำวไปข๎างต๎น สะท๎อนให๎เห็นวำนโยบายการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล๎อมขององค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นมีความสาคัญอยำงยิ่งยวดในตอนนี้ บทความนี้จึงพยายามประมวลแนวคิดที่เกี่ยวข๎องกับเรื่องนี้ โดยมุํงเน๎นที่นโยบายการจัดการสิ่งแวดล๎อมบนฐานของทุนทางสังคม (Social capital) ซึ่งมีคุณคำในเชิงอุดมคติบางประการแฝงเร๎นอยูํ อีกทั้งนาเสนอตัวอยำงที่ดีในทางปฏิบัติ (Best practices) ของการกาหนดนโยบายท๎องถิ่นบนฐานของทุนทางสังคมในประเด็นด๎านการจัดการสิ่งแวดล๎อมนี้ด๎วย ซึ่งได๎เรียนรู๎ผำนการทาวิจัยที่สนับสนุนโดยสานักงานคณะกรรมการวิจัยแหํงชาติ (วช.) และงานทุติยภูมิอื่นๆ ที่ได๎มีการศึกษาไว๎ เพื่อเชื่อมโยงภาพอุดมคติ (ทฤษฏี) กับภาพความจริง (ปฏิบัติ)

Article Details

How to Cite
boossabong, piyapong . (2020). นโยบายการจัดการสิ่งแวดล้อมบนฐานของทุนทางสังคมของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: แนวคิดและ วิธีการบริหารงานที่เป็นเลิศ (Best Practices). King Prajadhipok’s Institute Journal, 7(2). Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/kpi_journal/article/view/244630
Section
Original Articles

References

การท่องเที่ยวแหํงประเทศไทย. คู่มือแนวทางการบริหารและจัดการการท่องเที่ยวในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.). กรุงเทพฯ: การท่องเที่ยวแหํงประเทศไทย, 2548.

การประชุมงานวิจัยเพื่อท่องถิ่น ครั้งที่ 3. กระบวนทัศน์วิจัยเพื่อท้องถิ่น: จุดเปลี่ยนการพัฒนา. สำนักงานสนับสนุนการวิจัย, 2548.

โกมล แพรกทอง. บทบาทของประชาชนและองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นในการมีส่วนร่วมจัดการป่าชุมชน. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับป่าชุมชน. นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2535.

ชูพักตร์ สุทธิสา และคณะ. การจัดระเบียบแนวคิดในการอนุรักษ์ป่าชุมชนของชาวบ้าน. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2538.

บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิชาการทํองเที่ยวแหํงประเทศไทย, 2548.

ปิยะพงษ์ บุษบงก์. การกาหนดนโยบายสาธารณะ: กระบวนทัศน์ แนวทาง ตัวแบบ กรอบ และเทคนิค. กรุงเทพฯ: เสมาธรรม, 2552.

ปิยะพงษ์ บุษบงก์และคณะ. ปัญหาการกระจายอานาจและการปกครองส่วนท้องถิ่น : สะท้อนผ่านการเคลื่อนไหวของขบวนการประชาชน. รายงานการวิจัย, 2547.

มิศรา สามารถ. การมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น ในการบริหารจัดการด้านการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ. กรุงเทพฯ: สถาบันดารงราชานุภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย, 2543.

ยงยุทธ พึ่งวงศ์ญาติ. รายงานการวิจัยเรื่อง การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้: กรณีศึกษาหมู่บ้านที่อำเภอปากช่อง จ.นครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2542

โสภิตา ยงยอด. ภูมิปัญญาชาวบ้านอีสานในการอนุรักษ์ป่าดอนปู่ตา: ชุมชนบ้านดอนสารสรพัฒนา ต.วังแวง อ.แกดา จ.มหาสารคาม. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2544.

ทรงคุณ จันทจรและคณะ. ศักยภาพทางนิเวศวิทยาและยุทธวิธีการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์จากป่าวัฒนธรรม อ.แกดา จ.มหาสารคาม. สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2542.

วิจักษ์ รัตนวรรณี. ภูมิปัญญาชาวบ้านเกี่ยวกับการอนุรักษ์ป่าชุมชนของชาวอาเภอห้วยผึ้ง จ.กาฬสินธุ์. รายงานการค๎นคว๎าอิสระ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2541.

วิยุทธ์ จารัสพันธุ์และคณะ. การติดตามและประเมินผลโครงการปลูกป่าชุมชนของสมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน. สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแกํน, 2532.

วรวุฒิ โรมรัตนพันธ์. ทุนทางสังคม: กระบวนทัศน์ใหม่ในการจัดการสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ: ฟิสิกส์เซ็นเตอร์, 2551.

วีระศักดิ์ เครือเทพ. นวัตกรรมสร้างสรรค์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2548.

อัจฉรา รักยุติธรรม, ผู๎เรียบเรียง. เกษตรกรรมยั่งยืน: หลากหลายมุมมองส่องทางเกษตรกรรมไทย. นนทบุรี: คณะกรรมการจัดงานเกษตรกรรมยั่งยืน, 2548.

อุษาวดี พูลพิพัฒน์. การทํองเที่ยวแบบยั่งยืน: กรณีศึกษาการทํองเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชนในประเทศไทย. จุลสารการท่องเที่ยว 21, 4 (ต.ค.-ธ.ค. 2545) 38-53.

Butler, Glenys. Sustainable communities: the important role of local government in building social capital. 2nd Future of Australia’s Country Towns Conference, 2005.

Burton, C.H. and Turner, C. Manure Management: Treatment strategies for sustainable Agriculture. Wrest Park : Silsoe Research Institure, 2003.

Considine, Mark. Public Policy: A Critical Approach. Melbourne: Macmillan Education Australia, 1994.

Drysek, John S. Discursive democracy: Politics, policy, and political science. New York: Cambridge University Press, 1994.

Dye, Thomas R. Understanding Public Policy. Englewood Cliffs, N.J.: Prentice-Hall, 1981.

Edwards, Bob, Micheal W. Foiey, and Mario Diaui. Beyond Tocgueville : Civil Society and the Social Capital Debate in Comparative Perspective. Hanover : Tufts University, 2001.

Field, John. Social Capital. London and New York : Routledge, 2003.

Fine, Ben. Social Capital versus Social Theory: Political economy and social science at the turn of the millennium. London and New York : Routledge, 2001.

Friedman, Thomas L. The Lexus and the Olive Tree: Understanding the Globalization. New York : Anchor Books, 1999.

Fukuyama. Trust: the social virtues and the creation of prosperity. London : Hamish Hamilton, 1995.

Geertz, Clifford. Local knowledge: Further Essays in Interpretive Anthropology. New York: Basic Books, 1983.

Hajer, Maarten and Hendrik Wagenaar. Deliberative Policy Analysis: Understanding Governance in the Network Society. Cambridge: Cambridge University Press, 2003.

Harriss, John. Depoliticizing development : The World Bank and social capital. London: Anthem Press, 2001.

Higgins, Vaughan and Geoffrey Lawrence. Agricultural governance : globalization and the new politics of regulation. London : Routledge, 2005.

Johnson, David, Bruce Headey and Ben Jensen. Communities, Social Capital and Public Policy: Literature Review. Melbourne Institute Working Paper No.26/ 03, 2003.

Lin, Nam. Social Capital : A Theory of Social Structure and Action. Cambridge : Cambridge University Press, 2001.

Peter deLeon. Democracy and the Policy Sciences. New York: State University of New York Press.

Pretty, Jules N. Regenerating agriculture : policies and practice for sustainability and self-reliance. London : Earthscan Publications Ltd., 1995.

Putnam, Robert D. Making Democracy Work: Civic Tradition in Modern Italy. Princeton, New Jersey: Princeton University Press, 1993.

Putnam, Robert D. Bowling Alone: The Collapse and Revival of American Community. New York: Simon and Schuster, 2000.

Putnam, Robert D. editor, Democracies in Flux : The evolution of social capital in contemporary society. New York : OXFORD University Press, 2002.

Redclift, M.R., Lekakis, J. N. and Zanias, G. P. Agriculture and world trade liberalisation : socio-

environmental perspectives on the common agricultural policy. New York : CABI Pub., 1999.

Roberts, Martin and Martin Roche. Quantifying social capital: measuring the intangible in the local

policy context. Centre for Applied Social Research, University of Wolverhampton, undated. Shafritz, Jay M., Layne, Karen S. and Borick, Christopher P. Classics of Public Policy. New York: Pearson Education, 2005.

Skidmore, Paul, Kirsten Bound and Hannah Lownsbrough. Do policies to promote community participation in governance build social capital? (Online) November, 2006.

Taylor, Marilyn. Public Policy in the Community. New York: Palgrave Macmillan, 2003.

Velasquez, Jerry and the others. Innovative Communities: People-centred Approaches to Environmental Management in the Asia-Pacific Region. New York: United Nations University Press, 2005.

Vern Hughes. Putting Community in Community Building and the Social in Social Capital: What Governments Can and Can’t do. Forum on Capacity Building and Social Capital, Centre for Public Policy, University of Melbourne, 2003.

Walker, Ann. Understanding Social Capital within Community/ Government Policy Networks. School of Government, Victoria University of Wellington, undated.

Wallis, Joe and Brian E. Dollery. Local Government and Social Capital. University of Otago Economics Discussion Papers No.0207, 2002.