พัฒนาการการเมืองภาคประชาชน : บทสังเคราะห์และข้อสังเกตปรากฏการณ์ในสังคมการเมืองไทย

Main Article Content

Narong Bunsuaikhwan

Abstract

     ความสาคัญของการเมืองภาคประชาชน หรือการเมืองภาคพลเมืองนั้น นับว่ามีพลังและมีคุณค่าต่อระบบการเมืองที่คานึงถึงสิทธิ์เสรีภาพของบุคคล กลุ่มคน เพราะไปเปิดพื้นที่ให้กลุ่มคน บุคคลได้มีโอกาสในสังคมการเมือง หรือในขณะที่ระบบการเมืองแบบตัวแทนกาลังมีปัญหาของระบบ เกิดปัญหาเชิงโครงสร้างและกลไก กระบวนการดาเนินงานของระบบตัวแทนให้ชะงักงันในการตอบสนองสมาชิกในสังคมการเมือง นั้นคือประสิทธิภาพและความชอบธรรมของระบบการเมืองแบบตัวแทนกาลังมีข้อจากัด ทาให้มีการกล่าวขานถึงการเมืองแบบใหม่นี้ถูกท้าทายเรียกหาให้ทดแทนท้าทายกระบวนทัศน์และวัตรปฏิบัติแบบเดิมๆจากสมาชิกสังคมการเมือง ในขณะเดียวกันก็เกิดข้อกังขามากมายว่าเป็นรูปแบบการเมืองภาคประชาชนนั้นจะมีมาตรฐานอย่างไร มีตัวแบบอย่างไร และจะพัฒนาการเมืองภาคประชาชนให้มีมาตรฐานอย่างไรจึงจะมีประสิทธิภาพและมีความชอบธรรม การเมืองภาคประชาชนจะมีกลไก กระบวนการอะไรและพัฒนาด้วยกลยุทธ์อย่างไร เหล่านี้ดูประหนึ่งว่าบรรยากาศในสังคมการเมืองยังกล่าวถึงน้อยมาก คงมีแต่การกล่าวในเชิงภาษาหรือวาทกรรมที่ต่างก็ให้ความหมายไปตามวัตถุประสงค์ที่แฝงเร้นหรือมุ่งหวังกันแตกต่างกันไปว่ามากกว่าจะพินิจพิจารณาว่าการเมืองในมิติใหม่นี้มีประเด็นอะไร ดังนั้น งานชิ้นนี้ต้องการนาเสนอแนวคิดเพื่อการพัฒนาทางการเมืองภาคประชาชนเพื่อเป้าหมายในการยกระดับการเมืองนี้ให้เป็นทางเลือกหรือกิจกรรมทางอานาจคู่ขนานไปกับการเมืองเชิงสถาบัน โดยพิจารณาที่กลไก กระบวนการ ของการเมืองภาคประชาชน โดยสังเคราะห์จากงานต่างๆถึงคุณลักษณะของประเด็นกลไก กระบวนการการเมืองภาคประชาชนและสมควรจะมีคุณลักษณะที่ควรจะเป็นของแต่ละกลไก กระบวนการอย่างไร

Article Details

How to Cite
ิbunsuaikhwan narong . (2020). พัฒนาการการเมืองภาคประชาชน : บทสังเคราะห์และข้อสังเกตปรากฏการณ์ในสังคมการเมืองไทย. King Prajadhipok’s Institute Journal, 6(2). Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/kpi_journal/article/view/244661
Section
Original Articles

References

กระแส ชนะวงศ์. (2542). ภาวะผู้นาของนักบริหารชุมชนยุคใหม่. ใน ทิพาพร พิมพิสุทธิ์ (บรรณาธิการ). ความรู้สู่ประชาคมท้องถิ่น: สรุปการอบรมปลัดองค์การบริหารส่วนตาบล. ในโอกาสครบ 25 ปี คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

กาญจนา แก้วเทพ. (2540). ภาพรวมของการพัฒนาองค์กรชุมชน. ใน สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น. องค์กรชุมชน กลไกเพื่อแก้ไขและพัฒนาสังคม. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

จามะรี เชียงทอง. (2543). แนวคิดประชาสังคมในสังคมไทย. เอกสารการประชุมประจาปีว่าด้วยเรื่อง “ชุมชน“ ครั้งที่ 1 “ชุมชนไทยท่ามการเปลี่ยนแปลง” วันที่ 30-31 พฤษภาคม 2543 ณ อาคารเฉลิมพระบารมี 50 ปี ซอยศูนย์วิจัย กรุงเทพมหานคร. สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย .

ฉัตรทิพย์ นาถสุภา. (2543ก). ฤดูใบไม้ที่เมได. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์สร้างสรรค์ .

ฉัตรทิพย์ นาถสุภา. (2529). บ้านกับเมือง. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์สร้างสรรค์ .

ฉัตรทิพย์ นาถสุภา. (2540). ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมชุมชนและชนชาติไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิยาลัย.

ฉัตรทิพย์ นาถสุภา. (2543). ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย. คำบรรยาย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยโตเกียว และ มหาวิทยาลัยโทโฮกุกักกุอิน.

ฉัตรทิพย์ นาถสุภา. (2545). ปาฐกถาพิเศษ การเสวนาเศรษฐกิจพอเพียงประชาสังคม. ใน การเสวนา สหสาขาวิชาระหว่างสถาบันแห่งชาติ ครั้งที่ 1. วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2544 ชั้น 4 ตึกเอนกประสงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ฟ้าอภัย จำกัด.

ชูชัย ศุภวงศ์. (2540). แนวคิด พัฒนาการและข้อพิจารณาเกี่ยวกับประชาสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา.

ณรงค์ บุญสวยขวัญ. (2544). การจัดการทางสังคม.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทางสังคมในกลุ่มวิชาทั่วไป สำนักวิชาศิลปะสาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.

ณรงค์ บุญสวยขวัญ. (2549).ขบวนการปฏิบัติการประชาสังคมกับการใช้อำนาจรัฐในพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช . ดุษฎีนิพนธ์สาขาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขารัฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ. (2542). ธุรกิจชุมชน: เส้นทางเป็นไปได้. ศูนย์เศรษฐศาสตร์การเมือง คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ. (2547). รัฐทุนนิยมและเศรษศาสตร์แนวพุทธ. นิตยสาร Scale, 2(7): (พฤศจิกายน-ธันวาคม 2547).

ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ. (บรรณาธิการ). (2544). สวัสดิการโดยภาคชุมชน (1). ศูนย์เศรษฐศาสตร์การเมือง คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ณรงค์ เพชรประเสริฐ และคณะ. 2544, จากการศึกษาชุดโครงการวิจัยสวัสดิการคนจนและคนด้อยโอกาสในสังคมไทย ศูนย์เศรษฐศาสตร์การเมือง คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

นวลน้อย ตรีรัตน์ และกนกศักดิ์ แก้วเทพ. (2545). การต่อต้านทุจริตยาภาคประชาชน. ศูนย์เศรษฐศาสตร์การเมือง. คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นันทิยา หุตานุวัตร และณรงค์ หุตานุวัตร. (2546). การพัฒนาองค์กรชุมชน. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน

นฤมล ทับจุมพล. (2543). ประชาธิปไตยรากหญ้า: ข้อสังเกตบางประการจากจากบทบาททางการเมืองขององค์กรประชาชนรากหญ้า. ใน ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ (บรรณาธิการ) . ลุกขึ้นสู้. ศูนย์เศรษฐศาสตร์การเมือง. คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มณีรัตน์ มิตรปราสาท. (2539). การก่อตัวขององค์กรประชาชนกับการเสริมอานาจประชาชน: ศึกษากรณีชุมชนประมงพื้นบ้าน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มันทนา สามารถ. (2543). ปัจจัยการเกิดความเป็นประชาคมตาบล. เอกสารประกอบการประชุมประจาปีว่าด้วยเรื่อง “ชุมชน“ ครั้งที่ 1 “ชุมชนไทยท่ามการเปลี่ยนแปลง” วันที่ 30-31 พฤษภาคม 2543 ณ อาคารเฉลิมพระบารมี 50 ปี. กรุงเทพมหานคร. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

มนตรี เจนวิทย์การ. (2528). กลุ่มผลประโยชน์กับขบวนการสังคม. ใน เอกสารการสอนวิชาหลักและวิธีการศึกษาทางรัฐศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ภูมิธรรม เวชยชัย. (2527). บทบาทขององค์กรอาสาสมัครเอกชนในการสร้างสถาบันเกษตรเพื่อการพัฒนา: ศึกษากรณีการสร้างกลุ่มธนาคารชาวนาขององค์การอนุเคราะห์เด็กเปรียบเทียบอ้างอิงการสร้างกลุ่มธนาคารข้าวของกรมการพัฒนาชุมชน. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต จุฬางกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทิพาพร พิมพิสุทธิ์ และบวร ประพฤติดี. (2538). รูปแบบความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. รายงานวิจัย เสนอสภาวิจัยแห่งชาติ, ศูนย์วิจัยนโยบายและการพัฒนา, คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ประยงค์ รณรงค์ .(2548) . การบรรยายในชั้นเรียนวิชาการจัดการทางสังคม. ภาคที่ 2/2548 วันที่ ตุลาคม 2548 ณ ห้องเรียนรวม ม.วลัยลักษณ์.

ประยงค์ รณรงค์. (2546). รวมความรู้ ประสบการณ์และแนวคิดของชุมชนไม้เรียง. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน.

ประภาส ปิ่นตบแต่ง. (2541). การเมืองบนท้องถนน: 99 วันสมัชชาคนจนและประวัติศาสตร์การเดินขบวนชุมนุมประท้วงในสังคมไทย. มหาวิทยาลัยเกริก.

ปราณี ศรีสารคาม. (2541). โครงสร้างและฐานอำนาจของสมัชชาเกษตรกรรายย่อยภาคอีสาน. วิทยานิพนธ์รัฐศาตรมหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปรีดา เรืองวิชาธร. (2547). งานพลังกลุ่มและความสุข แนวทางการบริหารแบบพุทธสำหรับองค์กรการเปลี่ยนแปลงสังคม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์สวนเงินมีนา.

ไพฑูรย์ โพธิสว่าง. (2532). ผู้นำชุมชนชนบทไทยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: ศึกษาเฉพาะกรณีปัจจัยที่ทำให้เกิดอำนาจและการสร้างอำนาจให้กับตน. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปาริชาติ วลัยเสถียร และคณะ (2543). กระบวนการและเทคนิคการทางานของนักพัฒนา. กรุงเทพมหานคร. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

เทพเวที (ประยุตต์ ปยุตโต), พระ. (2533). พจนานุกรมพุทธศาสน์. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.

วิจารณ์ พานิช. (2548). สกว. กับความเป็นองค์กรเคออร์ดิค. ประชาคมวิจัย ฉบับวันที่ 30 เมษายน 2548. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

ไวทิสย์ สมุทรกลิน และเพ็ญพักตร์ ทองแท้. (2530). การตอบสนองต่อนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมสารเคมี: ศึกษาเฉพาะกรณีโรงงานแทนทาลัม จังหวัดภูเก็ต พ.ศ. 2529. รายงานวิจัยเสนอศูนย์ศึกษการพัฒนาสังคม คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สัมพันธ์ เตชะอธิก และคณะ (2537). ศักยภาพผู้นำและเครือข่ายผู้นำท้องถิ่น. ข่อนแก่น: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สีลาภรณ์ บัวสาย. (2547). พลังท้องถิ่น: บทสังเคราะห์งานวิจัยด้านชุมชน. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

สุรชัย แซด่าน. การบรรยายพิเศษในวิชาการจัดการทางสังคม ภาคที่ 2/2545 วันที่ ตุลาคม 2545 ณ ห้องเรียนรวม 3219 ม.วลัยลักษณ์.

สุรพล จรรยากุล. (2542). ปรากฏการณ์ประชาคมในตำบลบ้านสระ อำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี. ชุดโครงการ “ปัจจัยการเป็นประชาคมตาบล” โดยการสนับสนุนของกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

เสกสรรค์ ประเสริฐกุล. (2548). การเมืองภาคประชาชนในระบอบประชาธิปไตยไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์อมรินทร์.

เอนก เหล่าธรรมทัศน์. (2543). ประชาธิปไตยที่ประชาชนปกครองตนเอง. ใน จรัญ โฆษณานันท์ (บรรณาธิการ). วิถีสังคมไทย :สรรนิพนธ์ทางวิชาการเนื่องในวาระหนึ่งศตวรรษ ปรีดี พนมยงค์. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มูลนิธิเด็ก.

เอนก เหล่าธรรมทัศน์ . (2540). อนุทินการเดินทางของความคิด: จาก “รัฐ” สู่ “อารยสังคม” และ“พลเมือง”. กรุงเทพมหานคร: สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา.

อาภรณ์ จันทร์สมวงศ์ (บรรณาธิการ). (2543). พลวัตชุมชนไทยในสมัยโลกาภิวัฒน์: รวมแนวคิดมุมมองอันหลากหลายเพื่อความเข้าใจในชุมชนท้องถิ่นไทย. เอกสารประชุมประจาปี เรื่องชุมชนเข้มแข็ง หัวข้อ “ชุมชนไทยท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลง”. จัดโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย วันที่ 30-31 พฤษภาคม 2543 ณ อาคาร เฉลิมพระบารมี 50 ปี.

อานันท์ ปัณยารชุณ. (2545). บทสัมภาษณ์. ในหนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ. 9 สิงหาคม.

เอกกมล อ่อนศรี. 2544. วิทยานิพนธ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์

โอภาส ปัญญา และ พิเชษฐ์ หนองช้าง, 2542.

อินสอน บัวเขียว. (2546). สาระสำคัญการบริหารงานชุมชน. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์พิราบ.

Almond , Gabriel A , Verba, Sidney. 1965. The Civic Culture : political attitudes and democracy in five nations. Little , Brown and Company.

Bryant & White, 1984, pp. 15-30;

Baker , Gideon. 1998. Civil Society and Democracy : The Gap Between Theory and Possibility. Politics , 18 (2) .

Baker , Gideon. 1999. The Taming of the Idea of Civil Society Theory. Democratization, Autumn 1999, vol. 6, number 3.

Charney , Evan. Political Liberalism , Deliberative Democracy , and the Public Sphere. American Political Science Review. vol. 92 no. 1 (March) 1998.

Chandhoke , Neera. The “Civil Society” and the “Political” in Civil Society . Democratization, Summer 2001. vol. 8, number 2.

Denhardt Robert . Theories of Public Organization . 4th . Thomson Wadsworth. 2004.

Deakin, Nicholas . In Search of Civil Society. Palgrave. 2001.

Farazmand, Ali (ed) . Modern Organization : Theory and Practice. Praeger Publishers. 2002.

Fine, Robert. Civil Society Theory, Enligthenment and Critique. Democratization , Volume 4, Number 1, Spring 1997.

Gerlarch , Luther P. The Structure of Social Movements : Environmental Activism and Its Opponents. In Jo Freeman , Victoria Johnson (ed) . Waves of Protest : Social movements Since the Sixties. Rowman & Litlefield Publishers. 1999.

LoGerfo, James, Paul. Civil society and Democratization in Thailand 1973-1992. Dissertation Columbia University. 1997.

Haynes Jefe. 1997 . Democracy and Civil Society in The Third World : Politics & New Political Movements . Polity Press.

Keane, John. Deapotism and Democracy. , In John Keane (edit). Civil Society and the State: New European Perspectives . Verso. 1993.

Kopecky , Petr , Mudde Cas. Rethinking Civil Society. Democratization , Vol. 10 Autumn 2003.

Mathews, 1999, pp. 124-125.

Mathews , David. Politics for People : Finding a Responsible Public Voice .2nd . University of Illinois Press. 1999

Nozaki. Akira. Buddhist Way of Rural Development in Thailand. In Nozaki and Chris Baker (ed). Village Communities, States , and Traders: Essays in honour of Chattip Nartsupha. Edison Press. 2003.

Offe, Cluase. How can we trust our fellow citizens. In Warren, Mark E.(ed). Democracy and Trust. Cambridge. 1999.

Starkey , P. Networking for Development. London : International Forum for Rural Transport and Development (IFRTD). 1997.

Seligman, Adam B.. The Idear of Civil Society. New York. The Pree Press. 1992.

Tester , Keith. Civil Society. Routledge. 1992.

Ulrich, David, Lake , Dale. Organization Capability. John Wiley &Sons. 1990.

htt://www.blackwell-synergy .com

http://www.focal.ca

http://www.jhu.edu

http://www.marxists.org

http://www.nsi-ins.ca

http://www.oecd.org

http://www.worldbank.org

http://www.usaid.org