การเสริมสร้างการเมืองภาคพลเมือง โดยการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมระดับจังหวัด

Main Article Content

Thawilwadee Bureekul

Abstract

     การเมืองภาคพลเมือง เป็นการเมืองหรือสถานการณ์ที่ประชาชนได้รับสิทธิและเสรีภาพในการเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการทางนโยบาย มีการกระจายอานาจให้ประชาชนสามารถกาหนดวิถีชีวิตของตนเองโดยไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น อันเชื่อว่าการเมืองภาคพลเมืองน่าจะเป็นสิ่งสาคัญที่จะทาให้ประชาธิปไตยยั่งยืน แต่การเมืองภาคพลเมืองมิได้เกิดได้ง่ายแต่เชื่อว่าสามารถเสริมสร้างให้เกิดได้


     บทความนี้กล่าวถึงรูปแบบหนึ่งของการเสริมสร้างการเมืองภาคพลเมืองที่มีการทดลองใช้ในประเทศไทย เป็นการสนับสนุนโดยรัฐในรูปแบบของการพัฒนาระบบการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมระดับจังหวัดที่เมื่อดาเนินการแล้วเกิดผลที่เป็นรูปธรรม

Article Details

How to Cite
bureekul, thawilwadee . (2020). การเสริมสร้างการเมืองภาคพลเมือง โดยการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมระดับจังหวัด. King Prajadhipok’s Institute Journal, 6(2). Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/kpi_journal/article/view/244663
Section
Original Articles

References

เจมส์ แอล เครตัน. คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการตัดสินใจของชุมชน. แปลโดย ศ.นพ.วันชัย วัฒนศัพท์. นนทบุรี: ศูนย์สันติวิธีเพื่อการพัฒนาประชาธิปไตย,นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2543.

ชูชัย ศุภวงศ์, ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ. ประชาสังคม ทรรศนะนักคิดในสังคมไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: มติชน, 2541.

ธีรยุทธ บุญมี. ประชาสังคม. กรุงเทพฯ: สายธาร, 2547.

เดวิท แมทิวส์. จากปัจเจกสู่สาธารณะ: กระบวนการเสริมสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง. แปลและเรียบเรียงโดย ฐิรวุฒิ เสนาคา. กรุงเทพฯ: สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา, 2540.

ถวิลวดี บุรีกุล. “ธรรมาภิบาล : หลักการเพื่อการบริหารรัฐกิจแนวใหม่.” วารสารสถาบันพระปกเกล้า 1, 2 นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2546.

ถวิลวดี บุรีกุล.การมีส่วนร่วม : แนวคิด ทฤษฎีและกระบวนการ. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2548

ถวิลวดี บุรีกุลและคณะ รายงานการวิจัยการยกระดับการให้บริการสาธารณะโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน (People’s Audit). นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2548

ถวิลวดี บุรีกุล. การเมืองภาคพลเมือง. ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง. สถาบันพระปกเกล้า. www. thaipoliticsgovernment.org/wiki/การเมืองภาคพลเมือง_(civil_politics). 18 สิงหาคม 2551

ถวิลวดี บุรีกุล และคณะ. รางวัลแห่งความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม. สถาบันพระปกเกล้าร่วมกับสำนักงาน ก.พ.ร. กรุงเทพฯ: บริษัทศูนย์การพิมพ์แก่นจันทร์ จำกัด, 2551.

ถวิลวดี บุรีกุล. ระบบการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมระดับจังหวัด: ทาอย่างไรให้เป็นจริง. กรุงเทพฯ: ส. เจริญ การพิมพ์, 2551.

ประเวศ วะสี. แนวคิดและยุทธศาสตร์ สังคมสมานุภาพและวิชชา. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโกมลคีมทอง, 2536.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550.

สถาบันพระปกเกล้า. รายงานการวิจัยเรื่องแนวทางการสร้างเสริมประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ปัญหา อุปสรรค และทางออก. กรุงเทพฯ: บริษัทธรรมดาเพลส จำกัด, 2545.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ.รายงานความก้าวหน้าของการพัฒนาระบบราชการในรอบ 3 ปี.กทม: สำนักงาน ก.พ.ร., 2548.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. แนวความคิดเกี่ยวกับการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม. http://www.opdc.go.th/special.php?spc_id=3&content_id=301

อเนก เหล่าธรรมทัศน์. ส่วนรวมที่มิใช่รัฐ: ความหมายของประชาสังคม. ใน ขบวนการประชาสังคมไทย: ความเคลื่อนไหวภาคพลเมือง. กรุงเทพฯ : โครงการวิจัยและพัฒนาประชาสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2542.

Allison GT, and PD Zelikow. Essence of Decision: Explaining the Cuban Missile Crisis. 2 ed . New York, NY: Addison-Wesley Longman. 1999 xv-416 p.

Bhargava, Rajeev and Helmut Reifeld (eds.) . Civil Society, Public Sphere and Citizenship: Dialogues and perspections. New Delhi, Thousand Oaks, London: Sage Publications, 2005.

Bloom, Benjamin S. Taxonomy of Educational Objectives. Boston, MA. : Allyn and Bacon, 1984.

Dahrendorf Ralf. Morals, Revolution and Civil Society. New York: St. Martin's Press, 1997.

Denhardt, Janet V. and Robert B. Denhardt. The New Public Service: Serving, not Steer. New York : M.E. Sharpe, Inc., 2003.

Diamond, Larry. “Winning the Cold War on Terrorism: The Democratic-Governance Imperative” (Institute for Global Democracy - IGD - Policy Paper No. 1, March 2002, p. 8.

Keane, John. Civil Society: Old Images, New Visions. Stanford, California: Stanford University Press, 1998.

Mathews, David. Politics for People. 2 éd .Urbana and Chicago: University of Illinois Press, 1999.