การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง :ฐานรากของการเมืองภาคพลเมือง

Main Article Content

Sarunyu Mansup

Abstract

     รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได้ขยายพื้นที่ของการเมืองภาคพลเมืองผ่านช่องทางและกระบวนการต่างๆ เพิ่มขึ้นจากรัฐธรรมนูญฉบับพุทธศักราช 2540 โดยเฉพาะในมาตรา 87 (4) “ส่งเสริมให้ประชาชนเข้มแข็งทางใน และจัดให้มีกฎหมายจัดตั้งกองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง...” เพื่อดุลยภาพและประสิทธิภาพทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการปกครองและตรวจสอบการใช้อานาจรัฐอย่างเป็นรูปธรรม ทาให้การเคลื่อนไหวของการเมืองภาคพลเมืองชัดเจนขึ้นทั้งตามประเด็นปัญหาและตามพื้นที่ที่มีประเด็นร่วม ซึ่งนัยของการเมืองภาคพลเมืองที่ต้องการตามเจตนารมณ์รัฐธรรมนูญย่อมไม่ได้หมายความเพียงการมีส่วนร่วมทางการเมืองในลักษณะของการกดดันรัฐเพื่อแก้ไขปัญหา และการรวมตัวเพื่อต่อต้านรัฐ แต่หมายความถึงรวมถึงภาคพลเมืองที่ใส่ใจในประเด็นสาธารณะทั้งป้องกัน แก้ไข หรือคาดการณ์ ตรวจสอบ ด้วยความตระหนักในความเป็นเจ้าของอานาจอธิปไตยหน้าที่และหน้าที่แห่งความเป็นพลเมืองของตน

Article Details

How to Cite
mansup, sarunyu . (2020). การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง :ฐานรากของการเมืองภาคพลเมือง. King Prajadhipok’s Institute Journal, 6(2). Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/kpi_journal/article/view/244664
Section
Original Articles

References

ศิริกาญจน์ โกสุมภ์. รายงานการประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้าครั้งที่ 2. โรงพิมพ์ ไฟน์เน็กซ์, กรุงเทพมหานคร, 2543.

ศักดิ์ชัย นิรัญทวี. รายงานการวิจัยเอกสาร การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เป็นพลเมืองดี. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ, พิมพ์ดีการพิมพ์, กรุงเทพมหานคร, 2548.

รายงานการสัมมนา “บทบาทของการพัฒนาพลเมือง (Civic Education) เพื่อประชาธิปไตยที่ยั่งยืน: การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ไทย-เยอรมนี” วันพฤหัสบดีที่ 7 กุมภาพันธ์ 2551 จัดโดย สถาบันพระปกเกล้า ร่วมกับ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ มูลนิธิ ฟรีดริค เอแบร์ท (เอกสารสำเนา)

Kahne, Joseph E. and Others. Developing Citizen : The Impact of Civic Learning Opportunity on Student’s Commitment to Civic Participation. Paper presented at The Annual Meeting of the American Political Science Association. Chicago, Illinois, 2007.

Mathews, Forrest David. Politics for People : Finding a Responsible Public Voice. 2ndedition, University of Illinois Press, 1999.

Hebert, Yvonne and Sears, Alan. 2007 (May, 25). Citizenship Education. (online) Available URL :

http://www.cea-ace.ca/media/en/Citizenship_Education.pdf

Patrick, John J. 2007 (June, 30). The Concept of Citizenship in Education for Democracy. (online).AvailableURL: http://eric.ed.gov/ERICDocs/data/ericdoc2sql/content_storage_01/0000019b/80/17/a8/d3.pdf

ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์, จิตสำนึกรับผิดชอบชองนิสิตนักศึกษาไทยในปัจจุบัน. (20 ตค. 2549) เข้าชมได้

จาก http://www.ry9.com/news/2004=10=13/iqe6c6290c533c668c2bcaf50d16099c64

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. การศึกษากับการพัฒนาประชาธิปไตย. (20 มกราคม 2550) เข้าชมได้จาก http://www.onec.go.th/Act/democ/content.htm

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. (15 กรกฎาคม 2551) เข้าชมได้จาก http://www.onec.go.th/Act/acteng/01/0101-a.pdf

แผนจัดการเรียนรู้. เรื่องการเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เข้าชมได้จาก http://www.wt.ac.th/~lampong/plan.doc และ www.wt.ac.th/~waraporn.s/31101.doc และ

http://www.bcc.ac.th/web2006/department/vichakarn/obj_sco/matthayom/m1/so 31101.doc

สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ โครงการลูกเสืออาสาคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) สร้างวิถีประชาธิปไตย (23 พฤษภาคม 2550) เข้าชมได้จาก http://www.charuaypontorranin.com/index.php?lay=show&ac=article&Id= 408921&Ntype=1

ชุดวิชาการศึกษานอกโรงเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น. กระบวนการประชาธิปไตยในชีวิตประจาวัน (23 พฤษภาคม 2550) เข้าชมได้จาก http://www.samutprakan.net/5800/dataebook/ s02ebook.pdf

การศึกษากับชุมชน. รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิถีชีวิตภูมิปัญญาชุมชนให้กับนักเรียนโดยการมีส่วนร่วมของโรงเรียน ชุมชน และองค์การบริหารส่วนตำบลนาเชือก กรณีศึกษา : โรงเรียนบ้านหัวช้างตำบลนาเชือก จังหวัดมหาสารคาม (25 มีนาคม 2551)เข้าชมได้จาก http://www.vijai.org/research/project_content.asp?projID=RDG49E0006