Thai Politics in the Context of Plutocracy

Main Article Content

Uraiwan Thanasthit

Abstract

     ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย ฉบับปีพุทธศักราช 2540 เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2540 ซึ่งถือได๎วำเป็นจุดเริ่มต๎นของการปฏิรูปการเมืองไทย เหตุที่ต๎องมีการปฏิรูปเนื่องจากสภาพการเมืองไทยที่ผำนมาและที่เป็นอยูํกํอนปี 2540 กระแสสังคมตำงเห็นวำนักการเมืองได๎เข๎าไปแสวงหาผลประโยชน์เพื่อตนเองและพรรคพวก โดยปราศจากกลไกที่สามารถควบคุมตรวจสอบ และดาเนินการกับการทุจริตคอร์รัปชั่นและประพฤติมิชอบตำงๆได๎ นักการเมืองตำงมีผลประโยชน์ในทางการเมืองสูงในลักษณะที่เรียกวำ ‚ธุรกิจการเมือง‛ ซึ่งสร๎างผลเสียตํอระบอบประชาธิปไตยของไทย


     หลังปี 2540 ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญใหมํ มีกฎหมายแมํบทของประเทศที่คิดวำดีที่สุด มีอานาจรัฐครบเครื่อง และมีองค์กรอิสระที่จะมาให๎ความเป็นธรรมแกํสังคมอีกหลายองค์กร แตํกลับปรากฏวำการพัฒนาทางการเมืองกลับไมํได๎เป็นอยำงที่คาดคิดไว๎กลับมีความล๎าหลังและอํอนแอมาก แตํกํอนประเทศไทยมีระบบการเมือง ที่ระบบราชการข๎าราชการทั้งทหารและพลเรือนเป็นใหญํครอบงาระบบการเมือง และที่สาคัญมีบทบาทในกระบวนการตัดสินใจทางการเมือง โดยผู๎นาทางการเมืองมาจากระบบราชการเป็นสํวนใหญํ และมีฐานอานาจอยูํที่ข๎าราชการ แตํปัจจุบันระบบการเมืองเปิดกว๎างให๎มีการแขํงขันในรูปแบบของประชาธิปไตย กลุํมนายทุนธุรกิจการเมืองจึงเข๎ากุมอานาจแทนกลุํมข๎าราชการ ซึ่งได๎สะท๎อนภาพการเมืองไทยที่เป็นอยูํในปัจจุบันเป็นยุคธนาธิปไตย


 

Article Details

How to Cite
thanasthit, uraiwan . (2020). Thai Politics in the Context of Plutocracy. King Prajadhipok’s Institute Journal, 6(3). Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/kpi_journal/article/view/244671
Section
Original Articles

References

จิรโชค วีระสัยและคณะ. รัฐศาสตร์ทั่วไป. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2542.

ชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์. ธนกิจการเมืองกับการปฎิรูปการเมือง กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2543.

ชัยอนันต์ สมุทวนิช. อนาคตการเมืองไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2 . กรุงเทพฯ : สถาบันนโยบายศึกษา, 2539.

ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์. นักการเมืองไทย : จริยธรรม ผลประโยชน์ทับซ้อน การคอร์รัปชั่น สภาพปัญหา สาเหตุ ผลกระทบ แนวทางแก๎ไข . กรุงเทพ ฯ : สายธาร, 2549.

นรนิติ เศรษฐบุตร. กลุํมราชครูในการเมืองไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2 . กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2543.

นรนิติ เศรษฐบุตร. เกิดมาเป็นนายก. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ศิลปวัฒนธรรม, 2529.

นิธิ เอี่ยวศรีวงศ์. อ่านวัฒนธรรมการเมืองไทย. กรุงเทพฯ : มติชน, 2547

ผาสุก พงษ์ไพจิตร. การคอร์รัปชั่นกับประชาธิปไตยไทย. กรุงเทพฯ: ศูนย์การศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมือง คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537.

พิทยา ว่องกุล ( บรรณาธิการ). แฉวิธีโกง อภิมหาโปรเจกต์ไอ๎โมํง CTX 9000. กรุงเทพฯ : สายธาร, 2548.

ลิขิต ธีรเวคิน. การเมืองการปกครองของไทย. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2539.

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์. (จากคลองดำนถึงเชียงดาว) ความจริงที่หายไป. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สารคดี, 2548.

สังศิต พิริยรังสรรค์. คอร์รัปชั่นแบบเบ็ดเสร็จ. พิมพ์ครั้งที่ 2 . กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์รํวมด๎วยชํวยกัน, 2549.

สังศิต พิริยรังสรรค์. ทฤษฎีคอร์รัปชั่น. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์รํวมด๎วยชํวยกัน, 2549.

สุรชาติ บารุงสุข. ทฤษฎีการเมืองไทยในศตวรรษหน้า:พัฒนาการและความเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ : สถาบันศึกษาความมั่นคงและนานาชาติ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543.

สุรชาติ บารุงสุข. วิกฤตใต้ : สู้ด้วยยุทธศาสตร์และปัญญา. กรุงเทพ ฯ : Animate Group, 2547.

เสกสรร ประเสริฐกุล. การเมืองภาคประชาชนในระบอบประชาธิปไตยไทย. กรุงเทพ ฯ: อมรินทร์, 2548.

เสนํห์ จามริก. การเมืองไทยกับพัฒนาการรัฐธรรมนูญ. พิมพ์ครั้งที่สาม. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตาราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2549.

Almond, Gabriel A and Powell , Bingham , Jr . G. Comparative Politics : A Developmental Approach. Boston and Toronto : Little Brown and Company , 1966.

Caiden , Gerald E , Dwivedi , O.P. and Jabbra, Joseph . Where Corruption Lives , ed. Bloomfield ,Connecticut : Kumarian Press , 2001.

Huntington , Samuel P . Political Order in Changing Society. New Haven, Connecticut: New Haven University Press , 1969.

Lasswell , Harold D . Psychology and Politics. New York : Viking , 1960.

Morgenthau , Hans J. and Thompson , Kenneth W . Politics Among Nations : The Struggle for Power and Peace . 6 th ed . New York : Knopf , 1985.

กาชัย จงจักรพันธ์. การแนะนาตัวกับการหาเสียง ความแตกตำงบนเส๎นทางสูํวุฒิสภา, จดหมายขำวศาลรัฐธรรมนูญ . 3 (พฤษภาคม – มิถุนายน) , หน้า 7 – 18.

เกริกเกียรติ พิพัฒน์เสรีธรรม. การขยายตัวของระบบเศรษฐกิจไทย และการเมืองในระบอบธนาธิปไตย. วารสารเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์. 2 (มิถุนายน 2548 ), หน้า 92.

เกริกเกียรติ พิพัฒน์เสรีธรรม. ‚แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในประเทศไทย, วารสารราชบัณฑิตยสถาน. 4 (ตุลาคม - ธันวาคม 2549) , หน๎า 1-17.

จารุภัทร เรืองสุวรรณ.จะสร้างความมั่นคงของมนุษย์ผำนกระบวนการเลือกตั้งได้อย่างไร. รัฎฐาภิรักษ์ . 1 (มกราคม – มีนาคม 2547), หน้า 3.

เชาวนะ ไตรมาศ. ลัทธิการเมืองและทฤษฎีระบบการเมือง : เครื่องมือเบื้องต้นและการหวังผลในการวิเคราะห์การเมืองเชิงระบบ. จดหมายข่าวศาลรัฐธรรมนูญ . 46 (มีนาคม – เมษายน 2549), หน้า 8.

เชาวนะ ไตรมาศ. แชมป์ยอดเงินบริจาคไทยรักไทย 143 ล้านบาท จากทั้งสิ้น 187 ล้าน, มติชนสุดสัปดาห์ 1335 (17 – 23 มีนาคม 2549), หน้า 30 .

ไชยันต์ ไชยพร. อาริสโตเติล : การเลือกตั้งกับความเป็นประชาธิปไตย ( ตอนที่สอง). วารสารสถาบันพระปกเกล้า. 3 ( กันยายน – ธันวาคม 2548), หน้า 83.

นงนภัส ปิฎฐปาตี. ตระกูลดัง นักการเมืองรับเงินปันผลรวม 2.9 พันล้าน, เสียงจากประชาชน. 70 (พฤษภาคม 2548), หน้า 21.

เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์. วัฒนธรรมที่ถูก กาจัดความ. มติชนสุดสัปดาห์. 1385 (2 -8 มีนาคม 2550), หน้า 59.

เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์. เผย 75 ตระกูลผู้รับเหมาแห่เข้า ‘การเมือง’. มติชนสุดสัปดาห์. 1382 (9 -15 กุมภาพันธ์ 2550), หน้า 7.

พิชัย แก้วสาราญ. เงินกับการเลือกตั้ง : ปัญหาของการปกครองท้องถิ่น และการขาดสาขาพรรคการเมืองในชนบทไทย. รัฐสภาสาร 35 (มิถุนายน 2535). หน้า 62 - 76.

วรากรณ์ สามโกเศศ . ‚ผลประโยชน์ทับซ้อน = คอร์รัปชั่น. มติชนรายวัน. (12 ตุลาคม 2549 ), หน้า 6.

วีรพงษ์ รามางกูร. ‚ คนไทยกับประชาธิปไตย. ประชาชาติ. (29-31 พฤษภาคม 2549).

วีรพงษ์ รามางกูร. สัมภาษณ์ครั้งสุดท้าย ซาร์เศรษฐกิจ‛ บุญชู โรจนเสถียร ก่อนอาลาชีวาศรม. มติชนสุดสัปดาห์. 1388 (23 – 29 มีนาคม 2550) , หน้า 14.

สถาพร เริงธรรม. มาตรการตํอต๎านการคอร์รัปชั่นกับการคอร์รัปชั่นเชิงนโยบาย. วารสารสถาบันพระปกเกล้า. 2 (ธันวาคม 2546) , หน้า 68-69.

สมชาย วิรุฬหผล. คอร์รัปชั่นที่รากหญ้ามีที่มาจากข้างบน. สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์. 11 (4 -10 สิงหาคม 2549) , หน้า 25.

สมบัติ จันทรวงศ์. เสถียรภาพของประชาธิปไตยในทัศนะของอริสโตเติล. สังคมศาสตร์ปริทัศน์. 47 (กรกฎาคม 2545 - มิถุนายน 2546).

สมบัติ ธารงธัญวงศ์. นโยบายของพรรคการเมือง. มติชนสุดสัปดาห์. 1356 (11-17 สิงหาคม 2543), หน้า 11.

Undermining Good Governance : Corruption and Democracy. Asian Jounal of Political Science . Vol. 5 , No. 2 (December 1997) , pp. 1- 22.

Welsh , Bridget . ‚It’s the System , Stupid Southeast Asia needs to build up institutions, not individuals,‛ Time. 15 (April 17, 2006) , p. 18 .

เกษม วัฒนชัย. ปาฐกถาพิเศษเรื่อง‚ เศรษฐกิจพอเพียง, เนื่องในพิธีเปิดชมรมเศรษฐธรรม (The Economic Justice Club ) สถาบันป๋วย อึ้งภาภรณ์ ณ ธนาคารแหํงประเทศไทย. 12 มกราคม 2548.

ประเวศ วะสี. สถานการณ์การเมืองกับการพัฒนา เอกสารประกอบการบรรยายในการประชุมวิชาการของกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549 ณ โรงแรมปริ๊นซ์พาเลส. 6 กันยายน 2549.

รัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540.

รัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550.

สมเกียรติ ตั้งกิจจาวานิชย์. ทุนสัมปทานกับธรรมาภิบาลทางเศรษฐกิจ‛ เอกสารจากการสัมมนาทางวิชาการ ณ โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน ชลบุรี , 9-10 ธันวาคม 2549 .

เสนํห์ จามริก. ‚ปัจฉิมลิขิตวำด๎วยหลุมพรางประชาธิปไตย‛ กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติ, 2549 ( อัดสาเนา).

Corruption Perception Index, http://www.transparency.org

McDonald, Michael , Ethics and Conflict of Interest, http://www.ethics.ubcca/mcdonald/conflict.htm.