แก้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่อย่างไร ให้ตรงใจประชาชน

Main Article Content

Kriengsak Chareonwongsak

Abstract

     รัฐธรรมนูญถือเป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ ทั้งนี้ผ่านการใช้รัฐธรรมนูญมาแล้วทั้งสิ้นจานวน 17 ฉบับ ภายใน 75 ปี นับตั้งแต่มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475                                     ขณะนี้สังคมไทยกาลังเกิดความตื่นตัวทางการเมืองอย่างสูง เนื่องจากกาลังมีการยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดยสภาร่างรัฐธรรมนูญ ภายใต้กรอบระยะเวลาที่กาหนดไว้เพียง 180 วัน ทาให้หลายฝ่ายหลายภาคส่วนล้วนเข้ามามีส่วนต่อการยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ เพื่อให้รัฐธรรมนูญเป็นฉบับที่ประชาชนมีส่วนร่วมคิด ร่วมเขียน และร่วมลงประชามติ                                                                                                                                                                                                                                                                             ดังนั้น เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแสดงความคิดเห็น บทความชิ้นนี้ถือเป็นทัศนะส่วนตัวที่พยายามเสนอแนวคิดว่าด้วยการยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ในบางเรื่องบางประเด็น ภายใต้สามกรอบใหญ่ ๆ คือ กรอบที่ 1 เรื่องสิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาค และการมีส่วนร่วมของประชาชน กรอบที่ 2 เรื่องสถาบันทางการเมือง : สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา รัฐมนตรี และนายกรัฐมนตรี และกรอบที่ 3 เรื่องกระบวนการตรวจสอบการเข้าสู่อานาจทางการเมือง การวินิจฉัย และแก้ไขรัฐธรรมนูญ

Article Details

How to Cite
chareonwongsak, kriengsak . (2020). แก้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่อย่างไร ให้ตรงใจประชาชน. King Prajadhipok’s Institute Journal, 5(1). Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/kpi_journal/article/view/244675
Section
Original Articles

References

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. เปิดโลกความคิด มองวุฒิสภาไทย. กรุงเทพฯ ซัสเซสมีเดียจากัด, 2539.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. เอกสารวิชาการส่วนบุคคลเรื่อง ผลกระทบของระบบการเลือกตั้งแบบใหม่ตามรัฐธรรมนูญ ปี พ.ศ. 2540 ที่มีผลต่อการพัฒนาประชาธิปไตยในประเทศไทย. ในหลักสูตร “การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสาหรับนักบริหารระดับสูง” รุ่นที่ 8 วิทยาลัยการเมืองการปกครอง.

โกวิท วงศ์สุรวัฒน์. หลักรัฐศาสตร์. กรุงเทพฯ: ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.