คานธีกับการชุมนุมประท้วงในสังคมไทย
Main Article Content
Abstract
เมื่อกล่าวถึง มหาตมะคานธี เราก็คงจะนึกถึงชายสูงอายุร่างเล็ก สวมแว่นตากลมใหญ่ ศรีษะโล้นเหมือนนักบวช ห่อหุ้มร่างกายด้วยผ้าขาวชิ้นสั้น ๆ จากประเทศอินเดีย แต่เหตุใดบุคคล ร่างเล็กดังกล่าวถึงได้สามารถเป็นผู้นาทางความคิดและวิญญาณ นาพาชาวอินเดียเรียกร้องความเป็นธรรมกลับคืนมาจากประเทศอังกฤษได้ จึงน่าจะเป็นประโยชน์ที่จะศึกษาถึงวิธีการที่ท่านได้ใช้จนประสบความสาเร็จโดยไม่เกิดการนองเลือดขึ้นในประเทศอินเดีย
บทความนี้จะศึกษาถึงสันติวิธีตามแนวทางของมหาตมะคานธี บริบทการชุมนุมประท้วงในสังคมไทย และพยายามวิเคราะห์เปรียบเทียบสันติวิธีตามแนวทางของมหาตมะคานธีกับการประท้วงในสังคมไทย รวมถึงพิจารณานาแนวทางอหิงสาของคานธีมาประยุกต์ใช้ในสังคมไทยโดยนาเสนอตามลาดับ ดังต่อไปนี้
ก) แนวคิดความขัดแย้งกับความรุนแรง
ข) แนวคิดสันติวิธี
ค) สันติวิธีตามแนวทางของมหาตมะคานธี
ง) บริบทการชุมนุมประท้วงในสังคมไทย
จ) บทวิเคราะห์แนวคิดคานธีกับการประท้วงในสังคมไทย
ฉ) ข้อพิจารณาในการนาแนวคิดอหิงสาของคานธีมาประยุกต์ใช้ในสังคมไทย
Article Details
@ 2020 King Prajadhipok's Institute The Government Complex Commemorating All Right Reserved.
References
กรุณา เรืองอุไร กุศลาสัย แปล. โลกทั้งผองพี่น้องกัน มหาตมะคานธี. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ, 2539
กรุณา เรืองอุไร กุศลาสัย แปล. ชีวประวัติของข้าพเจ้า โดยมหาตมะคานธี. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ศยาม, 2542 .
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ. ผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน กรณีความรุนแรงอันเนื่องมาจากโครงการท่อส่งก๊าซไทย-มาเลเซีย, 2547.
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ. ข้อเสนอจากคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติต่อรัฐบาล กรณีโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนจากถ่านหิน หินกรูด-บ่อนอกและโครงการท่อส่งก๊าซและโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย. 2547.
ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ ท้าทายทางเลือก : ความรุนแรงและการไม่ใช้ความรุนแรง กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มูลนิธิโกมลคีมทอง.
ประเวศ วะสี. ประชาธิปไตย 2535. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน, 2535.
ประเวศ วะสี. สันติวิธีกับสิทธิมนุษยชน. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, 2545.
ประภาส ปิ่นตบแต่ง. การเมืองบนท้องถนน 99 วันสมัชชาคนจน กรุงเทพ ฯ ศูนย์วิจัยและผลิตตารา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกริก, 2541.
ไพโรจน์ อยู่มณเฑียร. วาทะคานธีมหาบุรุษอหิงสา. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์สร้อยทอง.
พลเดช ปิ่นประทีป. เอกสารประกอบการบรรยาย ณ สถาบันพระปกเกล้า วันจันทร์ที่ 22 สิงหาคม 2548 .
ฟ้าเดียวกัน น้ายาสันติวิธี ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม-ธันวาคม, 2546 .
วันชัย วัฒนศัพท์. ความขัดแย้ง...หลักการและเครื่องมือแก้ปัญหา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547.
วันชัย วัฒนศัพท์. เอกสารประกอบการสานเสวนาเรื่อง ทางออกสุดท้ายของอารยะขัดขืน : บทเรียนจากต่างประเทศ ณ สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ วันที่ 3 เมษายน 2549.
วิทยากร เชียงกูล ขบวนการสิบสี่ตุลาคม วารสารธรรมศาสตร์ , 2536 .
วัชรา ไชยสาร. การเมืองภาคประชาชน พัฒนาการมีส่วนร่วมทางการเมือง ประชาธิปไตยแบบ มีส่วนร่วมและพหุการเมือง. กรุงเทพฯ: สำนักเมฆขาว, 2545.
วิษณุ เครืองาม, “สิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ” สู่สิทธิมนุษยชน : สิทธิหรือหน้าที่ในประเทศไทยปัจจุบัน. โดย วิมลศิริ ชานาญเวช และวิทิต มันตาภรณ์ บรรณาธิการ, คณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ, 2535.
วินิจ ชัยยง กฏหมายเกี่ยวกับเสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบ วิทยานิพนธ์นิติศาสตร์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , 2539 .
ศิระชัย โชติรัตน์ สถานภาพและแนวโน้มการชุมนุมเรียกร้องของราษฎรและกลุ่มพลัง , 2540 เอกสารวิจัยส่วนบุคคล หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 40 .
สรุปการเสวนาวิชาการ “เสรีภาพในการชุมนุมตามรัฐธรรมนูญกับการสลายการชุมนุม” ห้องประชุมจิตติติงศภัทิย์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันที่ 13 มกราคม 2547.
สานักงานประสานงานมวลชน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. บทบาทฝ่ายปกครองกับการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทยโดยสันติวิธี . กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อาสารักษาดินแดน กรมการปกครอง, 2544 .
สถาบันยุทธศาสตร์ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ สันติวิถียุทธศาสตร์ชาติเพื่อความมั่นคง โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย .
เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่องทิศทางการจัดการความขัดแย้งของสังคมไทย ปัญหาภาคใต้แก้ได้ด้วยสันติวิธี วันที่ 28-29 มีนาคม 2546 ณ ห้องกรุงเทพแกรนด์บอล์ลรูม โรงแรมบีพี แกรนด์ทาวเวอร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา .
Vivek Pinto GANDHI’S VISION AND VALUES THE Moral Quest for Change in Indian Agriculture. Sahe Publiclications India Pvt Ltd.
Louis Fischer . Gandhi His life and message for the World Pehguin Books Ltd, Registered Offices : Harmondsworth, Middlesex, England ,1982.