พัฒนาเศรษฐกิจชุมชนอย่างไรให้อยู่รอดและยั่งยืน? : บทเรียนจากนวัตกรรมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
Main Article Content
Abstract
“...วันนี้สิ่งที่ชาวบ้านต้องการจริงๆ คือพี่เลี้ยง แต่นโยบายของรัฐบาลหลายๆ เรื่องเน้นไปที่การเข้าถึงแหล่งเงินทุน เช่น นโยบายแปลงสินทรัพย์ให้เป็นทุน เดิมมีวัตถุประสงค์ให้ชาวบ้านเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้เท่านั้น แต่เมื่อมีเงินแล้วจะใช้เงินนั้นอย่างไร จะลงทุนอย่างไร ชาวบ้านทาธุรกิจไม่เป็น วางแผนการผลิต วางแผนการตลาดไม่ได้…” (ประชาชาติธุรกิจ, 10 สิงหาคม 2549, หน้า 43)
“...บทบาทของรัฐ ที่เหมาะสมในการกระตุ้นให้เกิดทุนสังคม ไม่ใช่การหยิบยื่น หรือยัดเยียดโครงการแบบสาเร็จรูปให้แก่ชุมชน แต่เป็นการเสริมพลังหรือสนับสนุนการสร้างศักยภาพของประชาชน โดยให้ประชาชนคิดเอง สร้างเอง บริหารเอง...ทุนสังคมเป็นเรื่องของการจัดการ การมีเครือข่ายเป็นวิธีการจัดการที่ลดต้นทุนของสังคม โดยการช่วยกันเข้ามาแบ่งเบาภารกิจเป็นลูกโซ่…” (มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด, 2547, หน้า 5)
“...การเข้าไปของกองทุนหมู่บ้านในลักษณะกระตุ้นให้ประชาชนรากหญ้ากู้หนี้ยืมสิน ทาให้เสียวินัยการออม ทาลายระบบการออมของครัวเรือนและชุมชนที่มีอยู่แต่เดิม อย่างเช่น การออมทรัพย์ของชุมชน หลักของเขาคือจะให้สมาชิกเก็บออมจนถึงเกณฑ์ที่กาหนดจึงจะยอมปล่อยกู้ให้ ซึ่งคนที่มีคุณสมบัติเช่นนี้เมื่อผ่านการพิจารณาให้กู้จากกลุ่มออมทรัพย์แล้วก็เชื่อมั่นได้ว่าเป็นคนที่มีวินัยการออมสูง สามารถใช้คืนเงินกู้ได้แน่…” (หนังสือพิมพ์ผู้จัดการออนไลน์,18 มกราคม 2549)
Article Details
@ 2020 King Prajadhipok's Institute The Government Complex Commemorating All Right Reserved.
References
“กองทุนหมู่บ้าน ฝันร้ายประชานิยม”. หนังสือพิมพ์ผู้จัดการออนไลน์, วันที่ 18 มกราคม 2549 http://www.manager.co.th/Home/ViewNews.aspx?NewsID=9490000007238 ดูข้อมูลวันที่ 12 สิงหาคม 2549
จรัส สุวรรณมาลา และคณะ, นามานุกรมนวัตกรรมท้องถิ่นไทย พ.ศ. 2547. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2548
จรัส สุวรรณมาลา และคณะ. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์เรื่องวิถีใหม่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย, เสนอต่อสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), กรุงเทพฯ: พฤษภาคม 2548.
“จับตาโครงการประชานิยม ท้องถิ่นขาดพี่เลี้ยงจัดการเงิน”, ประชาชาติธุรกิจ, วันที่ 10 สิงหาคม 2549, หน้า 43.
“แบงก์ชาติตีแผ่ กองทุนหมู่บ้าน-พักหนี้เกษตร”, หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน, วันที่ 11 กรกฎาคม 2548, หน้า 1.
“ทีดีอาร์ไอ ซัดนโยบายแก้จน ทำชาวบ้านหนี้บาน ปท.พังแน่”, หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน, วันที่ 7 กรกฎาคม 2549, หน้า 1.
ผาสุก พงษ์ไพจิตร, “ทักษิโนมิกส์”, ใน จุไรรัตน์ แสนใจรักษ์ (บรรณาธิการ), ทักษิโนมิกส์, กรุงเทพฯ: สถาบันวิถีทรรศน์, 2547.
มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด, ทุนสังคมและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, เอกสารประกอบการสัมมนาทางวิชาการมูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย ประจำปี 2547 ณ โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน ชลบุรี ระหว่างวันที่ 27-28 พฤศจิกายน 2547.
วีระศักดิ์ เครือเทพ, นวัตกรรมสร้างสรรค์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, สิงหาคม 2548.
Fitzgerald, Joan and Nancy G. Leigh. 2002. Economic Revitalization: Cases and Strategies for City and Suburb. California: SAGE Publications.
Goldsmith, Stephen and William D. Eggers. 2004. Governing by Network: The New Shape of the Public Sector. Washington, D.C.: Brookings Institution Press.