พฤติกรรมนิยม (Behavioralism) และสถาบันนิยม (Institutionalism) ในการเมืองเรื่องการเลือกตั้งของไทย

Main Article Content

Stithorn Thananithichot

Abstract

     ระบบการเลือกตั้งของไทยที่ออกแบบไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญอีกสามฉบับ ถือเป็นภาพสะท้อนมุมมองที่นักวิชาการจานวนมากมีต่อพฤติกรรมทางการเมืองของคนไทย ซึ่งมักเชื่อกันว่าประชาชนยังขาดความรู้ความเข้าใจทางการเมือง และออกไปใช้สิทธิลงคะแนนโดยขาดความตระหนักในสิทธิหน้าที่ของตน ในขณะที่นักการเมืองและพรรคการเมืองขาดอุดมการณ์และไม่มีการนาเสนอนโยบายที่เป็นรูปธรรมต่อประชาชน มีการใช้เงินซื้อเสียง และมีการใช้อิทธิพลหรืออานาจครอบงาความคิดของประชาชน นอกจากนี้ สถาบันทางการเมืองอื่นๆ เช่น ทหาร ข้าราชการ ฯลฯ เองก็เป็นอุปสรรคต่อการผลักดันค่านิยมประชาธิปไตย และการส่งเสริมพฤติกรรมทางการเมืองที่พึงปรารถนา (อเนก เหล่าธรรมทัศน์ 2545) อย่างไรก็ตาม การเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2550 ทาให้เกิดประเด็นท้าทายใหม่ๆ ต่อความเข้าใจที่ว่านี้ในหลายประการ ทั้งในแง่พฤติกรรมการใช้สิทธิลงคะแนนของประชาชนที่มีคนกว่าสามล้านคนออกมาใช้สิทธิลงคะแนนล่วงหน้า และกว่าร้อยละ 70 โดยภาพรวมออกมาใช้สิทธิเลือกตั้ง รูปแบบและวิธีการรณรงค์หาเสียงของนักการเมืองที่แข่งขันกันนาเสนอนโยบาย (ประชานิยม) ต่อประชาชนอย่างเอาจริงเอาจังกว่าการเลือกตั้งครั้งก่อนๆ ตลอดจนบทบาทของสถาบันทางการเมืองต่างๆ เช่น ทหาร ศาลยุติธรรม องค์กรที่ทาหน้าที่เกี่ยวกับการเลือกตั้ง และกลุ่ม/องค์กรภาคประชาชน เป็นต้น ที่มีส่วนอย่างน่าสนใจในการกาหนดหรือมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมทางการเมืองของนักการเมืองและและพฤติกรรมการใช้สิทธิลงคะแนนของประชาชนในการเลือกตั้งครั้งนี้ การศึกษาเพื่อทาความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมทางการเมือง (โดยเฉพาะพฤติกรรมการเลือกตั้ง) จึงนับว่ายังมีความสาคัญอยู่มากต่อการทาความเข้าใจเกี่ยวกับ “การเมืองเรื่องการเลือกตั้งของไทย”

Article Details

How to Cite
thananithichot, stithorn . (2020). พฤติกรรมนิยม (Behavioralism) และสถาบันนิยม (Institutionalism) ในการเมืองเรื่องการเลือกตั้งของไทย. King Prajadhipok’s Institute Journal, 5(3). Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/kpi_journal/article/view/244692
Section
Original Articles

References

ฐปนรรต พรหมอินทร์. “กระบวนการเลือกตั้งและปัจจัยในการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุพรรณบุรี.” ใน สติธร ธนานิธิโชติ, บรรณาธิการ. รายงานวิจัยเรื่องกระบวนการเลือกตั้งและปัจจัยในการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร. กรุงเทพฯ: อักษรโสภณ, 2545.

ถวิลวดี บุรีกุล และ โรเบิร์ต บี อัลบริททัน. “ความต่อเนื่องของประชาธิปไตยในประเทศไทย: การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา 2543,” ใน เอกสารประกอบการประชุมวิชาการสมาคมรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งประเทศไทย. 8-10 ธันวาคม 2543.

ถวิลวดี บุรีกุล และ สติธร ธนานิธิโชติ. พฤติกรรมการเลือกตั้งและปัจจัยในการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ.2543. กรุงเทพฯ: ธรรมกมลการพิมพ์, 2545.

ทศพล สมพงษ์. “ความเคลื่อนไหวทางสังคมในกระบวนการเลือกตั้งและปัจจัยในการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดสกลนคร.” ใน สติธร ธนานิธิโชติ, บรรณาธิการ. รายงานวิจัยเรื่องพฤติกรรมการเลือกตั้งและปัจจัยในการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ.2543. กรุงเทพฯ: เจ ปริ้นติ้ง, 2545.

ทศพล สมพงษ์. “กระบวนการเลือกตั้งและปัจจัยในการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนคร.” ใน สติธร ธนานิธิโชติ, บรรณาธิการ. รายงานวิจัยเรื่องกระบวนการเลือกตั้งและปัจจัยในการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร. กรุงเทพฯ:

อักษรโสภณ, 2545.

ธีรพล เกษมสุวรรณ. ความรู้สึกเมินห่างทางการเมืองกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาปกครอง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2528.

ธงชัย วงศ์ชัยสุวรรณ และเทียนชัยวงศ์ชัยสุวรรณ. “รายงานการวิจัย เรื่อง การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนชั้นกลาง.” กรุงเทพฯ: กองการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2543.

นคร พจนวรพงษ์ และอุกฤษ พจนวรพงษ์. ข้อมูลประวัติศาสตร์การเมืองไทย, พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช, 2543.

นรนิติ เศรษฐบุตร. “เสนาธิปไตย ทหารกับการพัฒนาการเมืองไทย,” ใน นครินทร์ เมฆไตรรัตน์, บรรณาธิการ. รัฐศาสตร์-การเมือง : รวมบทความวิชาการทางรัฐศาสตร์ พ.ศ.2516-2525. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์วิภาษา, 2542.

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. “ภาพรวมของรัฐธรรมนูญฉบับใหม่” ใน บุญเลิศ คธายุทธเดช (ช้างใหญ่) และประยงค์ คงเมือง, บรรณาธิการ. รวมสาระรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน, พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน, 2541.

และคณะ. รายงานการศึกษาวิจัยเรื่องบทเรียนจากการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาเพื่อปรับปรุงระบบการเลือกตั้งให้ดีขึ้น. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2543.

บุญเลิศ คธายุทธเดช (ช้างใหญ่) และประยงค์ คงเมือง, บรรณาธิการ. รวมสาระรัฐธรรมนูญ ฉบับประชาชน, พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน, 2541.

บุญศรี มีวงศ์อุโฆษ. การเลือกตั้งและพรรคการเมือง : บทเรียนจากเยอรมัน. กรุงเทพฯ: สถาบันนโยบายศึกษา, 2542.

ปรมะ สตะเวทิน. การสื่อสารมวลชน: กระบวนการและทฤษฎี. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัดภาพพิมพ์, 2539.

ประชัน รักพงษ์ และรักฎา บรรเทาสุข. “ความเคลื่อนไหวทางสังคมในกระบวนการเลือกตั้งและปัจจัยในการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดเชียงใหม่.” ใน สติธร ธนานิธิโชติ, บรรณาธิการ. รายงานวิจัยเรื่องพฤติกรรมการเลือกตั้งและปัจจัยในการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ.2543. กรุงเทพฯ: เจ ปริ้นติ้ง, 2545.

ประชัน รักพงษ์ และรักฎา บรรเทาสุข.“กระบวนการเลือกตั้งและปัจจัยในการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่.” ใน สติธร ธนานิธิโชติ, บรรณาธิการ. รายงานวิจัยเรื่องกระบวนการเลือกตั้งและปัจจัยในการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร. กรุงเทพฯ: อักษรโสภณ, 2545.

ปรีชา หงษ์ไกรเลิศ. การพัฒนาระบบพรรคการเมืองเพื่อสร้างเสถียรภาพทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย. เอกสารวิจัยส่วนบุคคล วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, 2533.

พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต. ชนชั้นกับการเลือกตั้ง. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยและผลิตตารา มหาวิทยาลัยเกริก, 2541.

ศรีสมภพ จิตต์ภิรมย์ศรีและคณะ. “กระบวนการเลือกตั้งและปัจจัยในการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดปัตตานีและสงขลา.” ใน สติธร ธนานิธิโชติ, บรรณาธิการ.รายงานวิจัยเรื่องกระบวนการเลือกตั้งและปัจจัยในการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกสภา

ผู้แทนราษฎร. กรุงเทพฯ: อักษรโสภณ, 2545.

สถาบันพระปกเกล้า. บทเรียนจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เพื่อปรับปรุงระบบเลือกตั้งให้ดีขึ้น. กรุงเทพฯ: บริษัทอักษรโสภณ จำกัด, 2544.

สถาบันพระปกเกล้า. แผนพัฒนาวัฒนธรรมประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2544.

สายฝน น้อยหีด. “กระบวนการเลือกตั้งและปัจจัยในการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพฯ.” ใน สติธร ธนานิธิโชติ, บรรณาธิการ. รายงานวิจัยเรื่องกระบวนการเลือกตั้งและปัจจัยในการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร. กรุงเทพฯ:

อักษรโสภณ, 2545.

สุจิต บุญบงการ และพรศักดิ์ ผ่องแผ้ว. พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งของคนไทย. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526.

สุจิต บุญบงการ และพรศักดิ์ ผ่องแผ้ว. พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งของคนไทย. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527.

สุรพงษ์ โสธนะเสถียร. การสื่อสารกับการเมือง, พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: ประสิทธิ์ภัณฑ์ แอนด์ พริ้นติ้ง, 2544.

สานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. 4 ปี กกต. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สามเจริญพาณิชย์ (กรุงเทพ) จำกัด, 2545.

เอนก เหล่าธรรมทัศน์. การเมืองของพลเมืองสู่สหัสวรรษใหม่. กรุงเทพมหานคร: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2543.

เอนก เหล่าธรรมทัศน์. สองนัคราประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน, 2538.

Ball R., Alan. Modern Politics & Government, sixth edition. London: Macmillan, 2000.

Campbell A. and et.al. The American Voter. Chicago: The University of Chicago Press, 1960.

Diamond, Larry and Marc F.Plattner. Democracy in East Asia. Baltimore and London: The Johns Hopkins University Press, 1998.

Grönlund, Kimmo. “How Education and Political Information Affect Turnout in Different Electoral Systems.” Paper prepared for the 30th ECPR Joint Sessions of Workshops (Workshop 22 "Political Participation and Information"). March 22-28, 2002, Universitá di Torino, 2002.

Immergut, Ellen A. “The Theoretical Core of the New Institutionalism,” Politics and Society, 26 (1), 5-24, 1998.

Karp, Jeffrey A. and Banducci, Susan A. Political Efficacy and Participation in Eighteen Democracies: How Electoral Rules Shape Political Behavior. Paper presented at the XVIII World Congress of the International Political Science Association. Quebec City, Canada, August 1 – 5, 2000.

Lipset, Seymour Martin. “Some Social Requisites of Democracy,” In Class and Elites in Democracy and Democratization: A Collection of Reading, Eva Etzioni-Halevy (ed), New York & London: Garland Publishing, Inc. 1997 :37-42.

Lupia, Arthur. "The Effect of Information on Voting Behavior and Electoral Outcomes: An Experimental Study of Direct Legislation." Public Choice 78: 65-86, 1994.

Steinmo, Thelen, and Longstreth, eds. Structuring Politics: Historical Institutionalism in Comparative Analysis, pp. 1-32, 1992

Taylor, Curtis and Huseyin Yildirim. “Public Information and Electoral Bias.” Paper provided by Duke University, Department of Economics in its series Working Papers with number 05-11, 2005.

Tóka, Gábor. “Do Some Party Systems Make Equal Votes Unequal? A Comparison of Old and New Democracies.” Paper prepared for presentation at the Conference on Re-Thinking Democracy in the New Millennium, organized by the University of Houston at the Omni Hotel, Houston, TX, 16-19 February 2000.

Verba, Sydney, Norman Nie, and Jae-On Kim. Participation and Political Equality : A Seven - Nation Comparison. London, New York, Melbourne: Cambridge University Press, 1978.