วัฒนธรรมการเมืองท้องถิ่นในประเทศไทย

Main Article Content

Charas Suwanmala

Abstract

     การเมืองท้องถิ่นในประเทศไทยมีแบบแผนวัฒนธรรมการเมืองแตกต่างกัน จาแนกได้เป็น 3 แบบคือ (1) วัฒนธรรมการเมืองแบบปรึกษาหารือ ซึ่งพัฒนามากจากความโดดเด่นของการมีองค์กรชุมชนที่เข้มแข็ง (2) วัฒนธรรมการเมืองแบบแข่งขัน-ทาลายล้าง ซึ่งพัฒนามาจากการแย่งชิงและยึดครองฐานเสียงและผลประโยชน์ทางการเมืองระหว่างกลุ่มการเมืองในระดับชาติและท้องถิ่น และ (3) วัฒนธรรมการเมืองแบบรวมศูนย์-ผูกขาดอานาจทางการเมือง ซึ่งพัฒนามาจากการรวมศูนย์อานาจและการจัดระบบความสัมพันธ์ทางการเมืองการปกครองแนวดิ่งในอดีต วัฒนธรรมการเมืองท้องถิ่นทั้ง 3 แบบนี้พบในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทต่างๆ ในสัดส่วนที่แตกต่างกัน วัฒนธรรมการเมืองแบบปรึกษาหารือมักจะพบใน อบต. มากกว่าที่อื่นๆ วัฒนธรรมการเมืองแบบรวมศูนย์-ผูกขาดอานาจมักจะพบในเทศบาล สาหรับ อบจ. นั้น ยังไม่มีข้อมูลเชิงประจักษ์เพียงพอที่จะสรุปได้แบบแผนวัฒนธรรมการเมืองของท้องถิ่นมีความสัมพันธ์กับขีดความสามารถในการริเริ่มนโยบายการพัฒนาใหม่ๆ ของท้องถิ่นค่อนข้างชัดเจน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีวัฒนธรรมแบบปรึกษาหารือมีขีดความสามารถในการริเริ่มและขับเคลื่อนนโยบายในเชิงนวัตกรรมได้สูงกว่าวัฒนธรรมแบบอื่นๆ

Article Details

How to Cite
suwanmala, charas . (2020). วัฒนธรรมการเมืองท้องถิ่นในประเทศไทย. King Prajadhipok’s Institute Journal, 5(3). Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/kpi_journal/article/view/244694
Section
Original Articles

References

จรัส สุวรรณมาลาและคณะ. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการวิถีใหม่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย เสนอต่อสำนักงานส่งเสริมการวิจัย (สกว.), 2547.

ฉัตรทิพย์ นาถสุภา. พัฒนาการเศรษฐกิจประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์วิทยากร, 2511.

ทินพันธุ์ นาคะตะ.วิถีชีวิตไทย วัฒนธรรมทางการเมืองของคนรุ่นใหม่. กรุงเทพฯ: หจก.สหายบล็อกและการพิมพ์, 2546.

Almond, Gabriel A. and Sidney Verba. The Civic Culture. Boston, MA: Little, Brown and Company, 1965.

Aronoff, Myron J. “Political Culture,” in International Encyclopedia of the Social and Behavioral Sciences, Neil J. Smelser and Paul B. Baltes, eds., (Oxford: Elsevier, 2002), 11640.

Barzilai, Gad. Communities and Law: Politics and Cultures of Legal Identities. Ann Arbor: University of Michigan Press, 2003.

Diamond, Larry (ed.). Political Culture and Democracy in Developing Countries. Boulder London: Lynne Rienner Publishers, 1993.

Kertzer, David I. Ritual. Politics, and Power. New Haven, CT: Yale University Press, 1988.

Kertzer, David I. Politics and Symbols. New Haven, CT: Yale University Press, 1996.

Kubik, Jan. The Power of Symbols Against the Symbols of Power. University Park, PA: The Pennsylvania State University Press, 1994.

Laitin, David D. Hegemony and Culture. Chicago, IL: The University of Chicago Press, 1986.

Meyer, Thomas and Nicole Breyer. The Future of Social Democracy. Bonn: Friedrich-Ebert-Stiftung, 2007.

Putnam, Robert D. Making Democracy work: Civic Traditions in Modern Italy, New Jersey: Princeton University Press, 1993.

Rosenbuam, Walter A. Political Culture. London: Thomas Nelson, 1975.

Wilson, Richard W. "The Many Voices of Political Culture: Assessing Different Approaches," in World Politics 52 (January 2000), 246-73.

Pye, Lucian. Aspects of Political Development. Boston: Little Brown, 1966.

Pye, Lucian and Sidney Verba (eds.), Political Culture and Political Development. Princeton,N.J.: Princeton University Press, 1965.

Lipset, Seymour M. The First New Nation. New York : Basic Books, 1963.