การทุจริตคอร์รัปชั่นในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: มาตรการและกลไกการป้องกัน
Main Article Content
Abstract
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อชี้ให้เห็นถึงสภาพการทุจริตในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) กับเพื่อต้องการเสนอมาตรการและกลไกการป้องกันทุจริตโดยเฉพาะแนวทางการพัฒนาและเสริมสร้างกลไกการป้องกันการทุจริตในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ซึ่งผู้เขียนเรียบเรียงขึ้นมาเป็นบทความดังกล่าว ส่วนแรงบันดาลใจที่นาเสนอ บทความเรื่อง “การทุจริตคอร์รัปชั่นในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : มาตรการและกลไกการป้องกัน” เพราะด้วยเหตุผลว่าในปัจจุบัน การทุจริตคอร์รัปชั่นในสังคมไทยกาลังกลายเป็นประเด็นร้อนที่โจทย์จันกันมากเพราะมีข้อกล่าวหาต่อนักการเมือง ข้าราชการ และนักการเมืองท้องถิ่น ว่ามีพฤติกรรมในเชิงทุจริตคอร์รัปชั่นที่มีการกระทากันในหลายรูปแบบ ทั้งในแง่ การยักยอก การแอบเอางบประมาณหรือทรัพย์สินของรัฐไปเป็นของตน การเลือกจ้างและการทาสัญญาจ้างหรือให้สัมปทาน เฉพาะพรรคพวกผู้สนับสนุนตนเท่านั้น การใช้ตาแหน่งหน้าที่ของเจ้าหน้าที่รัฐเอื้อประโยชน์ให้บริษัทของตนเองและพรรคพวก ผลประโยชน์ขัดแย้งหรือผลประโยชน์ทับซ้อน (Conflict of Interest) และการเอื้อประโยชน์ (Trading Influence) การที่บริษัทให้สัญญาจะให้ผลประโยชน์แก่เจ้าหน้าที่รัฐในทางอ้อม เช่น ให้ตาแหน่งในบริษัท เมื่อเจ้าหน้าที่รัฐผู้นั้นปลดเกษียณ หรือพ้นจากตาแหน่ง ให้ตาแหน่งแก่ญาติตลอดจนการทุจริตในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การสมยอมราคา
กล่าวสาหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย (อปท.) ในปัจจุบัน ทั้งในรูปแบบองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) เทศบาล และองค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.) ตลอดจน กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา ซึ่งเห็นว่า อปท. ทั้งหลายได้ถูกจับตามองจากสังคมภายนอกว่า มีการทุจริตคอร์รัปชั่นเช่นกัน การถูกจับตามองและถูกวิพากษ์วิจารณ์ในทานองดังกล่าว
มีข้อมูลสถานการณ์การทุจริตในสังคมไทยและการทุจริตในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจากหลายๆ แห่งที่ยืนยันค่อนข้างตรงกันว่า โดยภาพรวมคนไทยและสังคมไทยยังมีปัญหาด้านความซื่อสัตย์สุจริต ด้านคุณธรรม จริยธรรม เป็นต้นว่า
Article Details
@ 2020 King Prajadhipok's Institute The Government Complex Commemorating All Right Reserved.
References
โกวิทย์ พวงงาม. 2549. รายงานการวิจัยประเมินองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความเป็นเลิศด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน . กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มิสเตอร์ก็อบปี้.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. 2547. กลเม็ดเด็ดปีกคอร์รัปชั่น. กรุงเทพมหานคร: ชัคเซสมีเดีย.
ชานาญ ปริบาล. 2546. ปัญหาในการดำเนินคดีอาญาแก่ผู้ทุจริต : ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ชินนะพงษ์ บารุงทรัพย์และคณะ. 2546 . รายงานการวิจัยเรื่อง การคอร์รัปชั่นในการซื้อขายตำแหน่งในระบบราชการ. สำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ.
ท. เทิดธรรม.2545. คอร์รัปชั่น รูปแบบ ปัญหา กลยุทธ์ในการแก้ไข (สะท้อนความจริงในระบบราชการ และสังคมไทย). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เมฆขาว.
ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์.2549. นักการเมืองไทย: จริยธรรม ผลประโยชน์ทับซ้อน การคอร์รัปชั่นสภาพปัญหา สาเหตุ ผลกระทบ และแนวทางแก้ไข. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สายธาร.
นิพนธ์ พัวพงศกรและคณะ.2544. คอร์รัปชั่นในวงราชการ: กรณีศึกษาและยุทธศาสตร์การต่อต้านคอร์รัปชั่นในเชิงเศรษฐศาสตร์. ใน คอร์รัปชั่นในประเทศไทย: รายงานการวิจัย. กรุงเทพฯ: สำนักงาน ก.พ.
นวลน้อย ตรีรัตน์ และคนอื่นๆ . 2546. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการตรวจการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตาบล: รายงานการวิจัย. ม.ป.ท. : ม.ป.พ.
บริบูรณ์ รักษาดี. 2550. ปัญหาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการถอดถอนผู้บริหารท้องถิ่น. นิติศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
ประเวศ วะสี. 2542. ยุทธศาสตร์ชาติ. กรุงเทพมหานคร: จัดพิมพ์โดย สำนักงานกองทุนเพื่อสังคม ธนาคารออมสิน.
ผาสุก พงษ์ไพจิตรและคณะ. 2544. “คอร์รัปชันในภาครัฐ : ความเห็นและประสบการณ์ของครัวเรือน รายงานการวิจัยคอร์รัปชันในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักงาน ก.พ.
พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว และคณะ. 2539. รายงานผลการวิจัยเรื่อง องค์ความรู้ว่าด้วยทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการไทย.
พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว. 2544. ดัชนีคอร์รัปชั่นของไทย : การสร้างและการตรวจสอบความเชื่อถือได้ กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ.
มนัส สุวรรณและคณะ. 2546. การตรวจสอบขององค์กรภาคประชาชนในระบบการบริหารงานและกิจการสาธารณะของท้องถิ่น. คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
วิทยากร เชียงกุล . 2549. แนวทางปราบคอร์รัปชั่นอย่างได้ผล: เปรียบเทียบไทยกับประเทศอื่น. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์สายธาร.
วิโรจน์ ธิตา. 2546.ทัศนะของนายอาเภอต่อปัญหาและอุปสรรคในการตรวจสอบการทุจริตที่เกิดขึ้นในองค์การบริหารส่วนตำบล. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
เสาวนีย์ ไทยรุ่งโรจน์และคณะ. 2544. “สภาพแวดล้อมทางธุรกิจและทัศนะของผู้ประกอบการต่อการให้บริการภาครัฐ. รายงานการวิจัยคอร์รัปชั่นในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักงาน ก.พ.
สถาบันวิถีทัศน์มูลนิธิวิถีนิทัศน์. 2546. ธรรมาภิบาลกับคอร์รัปชั่นในสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
สมาคมข้าราชการพลเรือนแห่งประเทศไทย. 2546.เราจะป้องกันแก้ไขปัญหาการทุจริตคอร์รัปชั่นในยุค ปฏิรูปกันอย่างไร การสัมมนาวิชาการ เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2546 ณ หอศิลปวัฒนธรรม (ประชุมเล็ก) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ท่าพระจันทร์.
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ.2550.หลักสูตรการสัมมนาเจ้าหน้าที่ของรัฐ เรื่องการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ศรีเมืองการพิมพ์ จำกัด.
สังศิต พิระยะรังสรรค์และผาสุก พงษ์ไพจิตร. 2537. คอร์รัปชั่นกับประชาธิปไตยไทย. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สังศิต พิริยะรังสรรค์. 2549. คอร์รัปชั่นแบบเบ็ดเสร็จ.กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ร่วมด้วยช่วยกัน.
สังศิต พิริยะรังสรรค์2547.รายงานการสัมมนา ประจาปี 2547 การคอร์รัปชั่นในสังคมไทย ปัญหาและทางออก, กรุงเทพมหานคร: ปาปิรุส พับลิเคชั่น จำกัด.
สังศิต พิริยะรังสรรค์. 2549. ทฤษฎีการคอร์รัปชั่น. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ร่วมด้วยช่วยกัน.
ศุภชัย ยาวะประภาษและคณะ .2544. “คอร์รัปชั่นและการซื้อขายตาแหน่งในทัศนะข้าราชการ”รายงานการวิจัยคอร์รัปชั่นในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : สำนักงาน ก.พ.
อนุสรณ์ ลิ่มมณีและคณะ .2548. รายงานการฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยการทุจริตและประพฤติมิชอบในหน่วยงานราชการไทย กรณีศึกษา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย .วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม.
อรทัย ก๊กผล. 2547. การพัฒนาระบบการจัดซื้อจัดจ้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น, สถาบันพระปกเกล้า.
อัณณพ ชูบารุง. 2523. รายงานการวิจัยเรื่องการเปรียบเทียบการควบคุมการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการระหว่างของไทยกับสวีเดน. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อุษณี ภัทรมนตรี . 2548 . การตรวจสอบภายในสมัยใหม่. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อรพินท์ สพโชคชัย. และคณะ. 2543.อบต. ที่มีธรรมาภิบาล: การวางรากฐานต้านทุจริต. เสนอในงานสัมมนาวิชาการประจาปี 2543 ของสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย เรื่อง สังคมโปร่งใสไร้ทุจริต.
อุดม รัฐอมฤต .2544. การแก้ไขปัญหาการทุจริตในระบบการเมืองและวงราชการไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. 2546. กรุงเทพมหานคร: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542.
เอกสารวิชาการลาดับที่ 10 วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น. 2547. คดีปกครองที่สาคัญเกี่ยวกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า.
เอกสารวิชาการลาดับที่ 20 วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น. 2547. รูปแบบและวิธีการกากับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า.