กลยุทธการสื่อสารของรัฐบาลทักษิณ 2

Main Article Content

Pirongrong Ramasoota

Abstract

     นับแต่ปีพ.ศ.2544 ที่พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ได้นาพรรคไทยรักไทยสู่ชัยชนะในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและจัดตั้งรัฐบาลทักษิณ(1) ขึ้นนั้น มีปรากฎการณ์ทางการสื่อสารที่น่าสนใจและมีนัยยะสาคัญทั้งทางสังคมและการเมืองเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ‚การคุกคามและแทรกแซงสื่อ‛ เป็นสิ่งที่รัฐบาลทักษิณ(1) ถูกตั้งคาถามและต่อต้านมาโดยตลอดระยะเวลา4 ปีในการบริหารประเทศ ทั้งนี้มีงานวิจัย บทความและข้อเขียนจานวนไม่น้อยทีได้ศึกษาและวิเคราะห์เกี่ยวกับวิธีการต่างๆ ที่รัฐบาลใช้ในการควบคุมสื่อทั้งอย่างโจ่งแจ้งและแยบยล ซึ่งวิธีการเหล่านั้นสะท้อนให้เห็นถึงกลยุทธ(strategy) ทั้งในเชิงโครงสร้าง (structure) และในเชิงปฏิบัติการ (action) เพื่อจัดการกับเสรีภาพทางข่าวสารผ่านสื่อมวลชนอันเป็นองค์ประกอบสาคัญของการปกครองและวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตย

Article Details

How to Cite
ramasoota, pirongrong . (2020). กลยุทธการสื่อสารของรัฐบาลทักษิณ 2. King Prajadhipok’s Institute Journal, 4(1). Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/kpi_journal/article/view/244701
Section
Original Articles

References

กาญจนา แก้วเทพ. 2543. สื่อสารมวลชน : ทฤษฎีและแนวทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ฐิตินันท์ พงษ์สุทธิรักษ์ และวีรยุทธ กาญจน์ชูฉัตร. 2547. การกำกับดูแลเนื้อหาอินเทอร์เน็ต . กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย.

พิรงรอง รามสูตรณะนันทน์. 2547. การกำกับดูแลเนื้อหาหนังสือพิมพ์. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย.

พิรงรอง รามสูต รณะนันทน์ และ นิธิมา คณานิธินันท์. 2547. การกำกับดูแลเนื้อหาอินเทอร์เน็ต . กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย.

ภาควิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. เอกสารสรุปการสัมนาวิชาการ เรื่อง “50 ปีโทรทัศน์ไทยกับการปฏิรูปสื่อของรัฐ” จัดโดย ภาควิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 20 กันยายน พ.ศ.2548.

สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย, 2547. รายงานสถานการณ์ด้านสิทธิเสรีภาพ

สื่อมวลชนในรอบปี 2546. กรุงเทพฯ.

อรวรรณ ปิลันธน์โอวาท. 2546. การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์. 2548. เสรีสื่อ เสรีประชาชน‛ เอกสารประกอบสัมมนาเรื่อง ‚บทเรียนจากการฮุบสื่อ: กรณีมติชน และโพสต์‛ จัดโดยศูนย์เศรษฐศาสตร์การเมือง คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 20 กันยายน พ.ศ.2548.

อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์. 2547. สื่อสารมวลชนเบื้องต้น สื่อมวลชน วัฒนธรรม และสังคม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์, 2546. สื่อมวลชนในยุคปฏิรูป. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์คบไฟ.

Ito, Youichi, ‚The Influences of Historical Experiences on the Japanese Political Communication Research‛ Keio Communication Review 25, 2003: pp. 3 - 17.

Nain, Zaharom, Portraying Poverty : the Media and the Poor in Malaysia. in Media and Human Rights in Asia. Singapore : AMIC.

‚Media groups decry legal blitz on ’Post‘ ,‚ Bangkok Post. (18 August 2005): p.3.

‚No crack does not mean there is no corruption,‛ Thai Day. (17 August 2005): p.6.ก