ศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการจัดการปัญหาผลกระทบภายนอก (Externalities): (Externalities): (Externalities): (Externalities): (Externalities): (Externalities): (Externalities): เรียนรู้จากประสบการณ์จริงขององค์การบริหารส่วนตาบล
Main Article Content
Abstract
ปัญหาผลกระทบภายนอก (Externalities) เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นรอบตัวเรา และมักมีความรุนแรงเกินกว่าขีดความสามารถของชุมชนที่ได้รับผลกระทบที่จะจัดการกับปัญหาด้วยตนเอง แม้กระทั่งหน่วยงานราชการที่มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงก็มีข้อจากัดในการดาเนินการอยู่มาก การที่กฎหมายได้กาหนดให้องค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.) มีหน้าที่ประการหนึ่งในการจัดการกับปัญหาดังกล่าวจึงเปรียบเสมือนบทพิสูจน์ความสามารถและความตั้งใจจริงของ อบต. ที่มีต่อการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของชุมชน บทความนี้จึงมีจุดประสงค์ที่จะศึกษาถึงศักยภาพของ อบต. ในการจัดการกับปัญหาผลกระทบภายนอกที่เกิดขึ้นในพื้นที่ของตน ผู้เขียนเลือกศึกษา อบต. จานวน 3 แห่ง ได้แก่ อบต.กุดน้าใส จังหวัดขอนแก่น อบต.กลาย จังหวัดนครศรีธรรมราช และ อบต.อ่างคีรี จังหวัดจันทบุรี ผลการศึกษาพบว่า อบต. ทั้ง 3 แห่งมีความสามารถในการแก้ไขปัญหาผลกระทบภายนอกได้เป็นอย่างดี การศึกษาครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่าความเข้าใจถึงลักษณะของปัญหา การสร้างความร่วมมือระหว่างผู้เกี่ยวข้อง และการเลือกใช้มาตรการดาเนินการที่เหมาะสมเป็นสิ่งสาคัญที่ทาให้ปัญหาผลกระทบภายนอกได้รับการแก้ไข
Article Details
@ 2020 King Prajadhipok's Institute The Government Complex Commemorating All Right Reserved.
References
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. 2540. รายงานฉบับสมบูรณ์: ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ำและตะกอนท้องน้ำเนื่องมาจากกรณีเหตุการณ์ปลาและสัตว์น้ำอื่น ๆ ตายในแม่น้าพอง. วันที่ 4 ธันวาคม 2540. 25 หน้า.
เกริกเกียรติ พิพัฒน์เสรีธรรม. 2546. การคลังว่าด้วยการจัดสรรและการกระจาย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
คณะทางานแก้ไขปัญหาลาน้ำพองเน่าเสีย. 2537. “รายงานสรุปผลการศึกษาสาเหตุการเน่าเสียลาน้ำพองในช่วง 20-21 พฤษภาคม 2536”. วารสารสาธารณสุขมูลฐาน ภาคอีสาน. 9(4): 6-14.
จันทนา เกตุแก้ว. 2536. “น้าพองเน่า”. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เหมาะสม 11(6) : 52-56.
ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์. ม.ป.ท. ภาษีสิ่งแวดล้อมและเครื่องมือเศรษฐศาสตร์เพื่อสิ่งแวดล้อม: ข้อเสนอการปฏิรูปการคลังที่คำนึงถึงการมีส่วนร่วมของท้องถิ่น. พิษณุโลก.
ยรรยงค์ อินทร์ม่วง, นฤมล แสงประดับ, และบัญชร แก้วส่อง. 2543. ระบบเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพในระดับชุมชนใกล้แม่น้ำพอง. รายงานการวิจัย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. กรุงเทพฯ.
นวลน้อย ตรีรัตน์ และคณะวิจัย. 2546. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการตรวจสอบการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบล. รายงานการวิจัยเสนอต่อสานักงาน ป.ป.ช. และ US-AID. กรุงเทพฯ.
อรพินท์ สบโชคชัย และคณะ. 2543. อบต.ที่มีธรรมาภิบาล: การวางรากฐานต้านทุจริต. เอกสารเสนอในการสัมมนาวิชาการประจำปี 2543 ของสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย ณ โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ จังหวัดชลบุรี ระหว่างวันที่ 18-19 พฤศจิกายน 2543.
อรทัย ก๊กผล. 2546. Best Practices ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองส่วนท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า.
Bouckaert, Boudewijn and De Geest, Gerrit (eds.). 2000. Encyclopedia of Law and Economics, Volume II. Civil Law and Economics, Cheltenham, Edward Elgar.
Buchanan, James M. 2001. Externalities and Public Expenditure Theory: The Collected Works of James M. Buchanan. Indiana: Liberty Fund Inc.
Coase, Ronald H. 1960. “The Problem of Social Cost”. Journal of Law and Economics (October), pp. 1-44.
Inmuong, Yanyong, Narumon Sangpradub, Vongwiwat Tanusilp. 2003. Community-based Actions on Sustainable Environment Management Planning: Kudnamsai Water-Quality Monitoring Initiative. Paper presented at The 1st Southeast Asia Water Forum. Chiang Mai. November 17-21, 2003.
Nicholson, Walter. 2000. Intermediate Microeconomics and Its Application. Florida: Harcourt Inc.
Oates, Wallace E. 1994. “Federalism and Government Finance”, in Modern Public Finance, edited by John M. Quigley and Eugene Smolensky, Cambridge: Massachusetts. Harvard University Press. 126-151.
Oates, Wallace E. 1972. Fiscal Federalism. New York: Harcourt Brace Jovanovich.
Pigou, C. Arthur. 1932. The Economics of Welfare. New York: Macmillan.
Rosen, Harvey S. Public Finance. 6th edition. New York: McGraw-Hill. 2002.