ศาลรัฐธรรมนูญกับการยุบพรรคการเมือง
Main Article Content
Abstract
รัฐธรรมนูญกับพรรคการเมืองเป็นสิ่งที่มีอยู่ควบคู่กันโดยตลอด ทั้งนี้ เนื่องจากพรรคการเมืองเป็นผลมาจากการมีสิทธิเสรีภาพของประชาชน และสิทธิเสรีภาพของประชาชนมีได้ด้วยการรับรองของรัฐธรรมนูญ จึงถือได้ว่ารัฐธรรมนูญเป็นที่มาของสิทธิเสรีภาพของประชาชนในการก่อตั้งพรรคการเมือง แต่อย่างไรก็ตาม กรณีประเทศไทยนับแต่การเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 จนถึงปัจจุบัน มีรัฐธรรมนูญ จานวน 16 ฉบับ โดยแต่ละฉบับได้บัญญัติเกี่ยวกับพรรคการเมืองไว้ แต่ในรัฐธรรมนูญฉบับแรก ๆ จะไม่มีบทบัญญัติว่าด้วยพรรคการเมือง ทั้งนี้ เนื่องจากการพัฒนาการเมืองไทยได้รับการพัฒนาไม่ต่อเนื่องเท่าที่ควร
Article Details
@ 2020 King Prajadhipok's Institute The Government Complex Commemorating All Right Reserved.
References
กระมล ทองธรรมชาติ. วิวัฒนาการของระบอบรัฐธรรมนูญไทย. กรุงเทพฯ, 2524.
กมลชัย รัตนสกาววงศ์. หลักการตีความกฎหมาย, สรุปคำบรรยายโครงการฝึกอบรม เรื่องเทคนิควิธีปฏิบัติงาน, สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ, 2542.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. กฎหมายมหาชน เล่ม 3 : ที่มาและนิติวิธี, 2538.
บุญศรี มีวงศ์อุโฆษ. กฎหมายพรรคการเมืองเยอรมัน. วารสารนิติศาสตร์ 19 มิถุนายน 2532.
บุญศรี มีวงศ์อุโฆษ. การเลือกตั้งและพรรคการเมือง : บทเรียนจากเยอรมัน. กรุงเทพฯ, 2542.
มนตรี รูปสุวรรณ และคณะ. เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ : รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. กรุงเทพฯ, 2542.
บรรเจิด สิงคะเนติ. แปลคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีที่ BverfGE 2, 1 ละที่ BverfGE 5, 85, คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ, 10 มีนาคม 2547.
ปกครอง สุนทรสุทธิ์. การพัฒนาพรรคการเมืองตามแนวทางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2541, เอกสารวิจัยส่วนบุคคลในหลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสาหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 3, สถาบันพระปกเกล้า. นนทบุรี, 2542.
วรเจตน์ ภาคีรัตน์. รายงานการวิจัยเรื่อง วิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ : ศึกษากรณีของ ต่างประเทศกับศาลรัฐธรรมนูญไทย เสนอต่อสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ, 2545.
วุฒิกร อินทรวงศ์. กฎหมายพรรคการเมืองในประเทศไทยศึกษาในเชิงประวัติศาสตร์และเชิงวิเคราะห์แนวความคิด. วิทยานิพนธ์ นิติศาสตร์มหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535.
Aurel Croissant. Electoral Politics in Southeast & East Asia : Electoral Politics in South Korea, Singapore, 2002.
Chee Youn Hwang (Law Clerk of the Constitutional Court of Korea). Function and Role of the Constitutional Court in Korea, Bangkok Thailand, 1999. 37.
Frank J.Sorauf. Party Politics in America & Canada, U.S.A, 1979.
James M. West and Dae – Kyu Yoon. The Constitutional Court of the Republic of Korea, The American Journal of Comparative Law, Vol 40, 1992.
James M. West & Dae – Kyu Yoon. The Constitutional Court of Korea : Transforming the Jurisprudence of the Vortex ? , Republic of Korea, 1992.
Korean Information Service. Fact about Korea, Seoul, The Republic of Korea, 1999.
National Election Commission. Election Commission, Republic of Korea, Seoul, 2000.
Press and Information Office of the Federal Government. Fact about Germany, Germany, 1998.
The Republic of Korea. The Constitutional Court, Seoul, 1996.
สัมภาษณ์ Judge Wee – Soo Han (Director of Research). The Constitutional Court of 29 July 2003, Seoul, The Republic of Korea, 2003.
The Constitution Act and The Decision of the Constitutional Court The Basic Law For The Federal Republic of Germany 1949.
The Constitution of the Republic of Korea 1987.
The Japan Constitution 1994.
Gesetz Über das Bundesverfassungsgericht – BverfGG 1993.
Gesetz Über die politischen Parteien (Parteiengesetz) 1994.
The Constitutional Court Act of The Republic of Korea 1997.
The Political Party Act of The Republic of Korea amendment 2000.
คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีที่ BverfGE 2, 1, 23 Oktober 1952.
คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีที่ BverfGE 5, 85, 17 August 1956.