การประเมินผลการส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมืองในบริบทของการกระจายอานาจและการจัดทากรณีศึกษาจากประสบการณ์ที่ได้รับ : กรณีศึกษา สภาพัฒนาหมู่บ้านหนองโก อาเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม เครือข่ายป่าชุมชนลุ่มน้าแม่ปิงตอนบน อาเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ และ องค์กรชุมชนประมงพื้นบ้านจังหวัดปัตตานี อาเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

Main Article Content

Thawilwadee Bureekul
Sarunyu Mansup
Sirikunya Parnpuangsri

Abstract

     รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เป็นปัจจัยสาคัญที่ก่อให้เกิดการปฏิรูปการเมืองอย่างมีนัยสาคัญ นับแต่มีการปกครองภายใต้ระบอบประชาธิปไตยตั้งแต่ พ.ศ. 2475 และมีรัฐธรรมนูญมาแล้วถึง 16 ฉบับ รัฐธรรมนูญฉบับนี้เป็นฉบับที่ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการร่างตั้งแต่ต้น โดยมีเจตนารมณ์เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน คานึงถึงสิทธิมนุษยชนและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สร้างเสถียรภาพทางการเมือง สร้างการตรวจสอบอานาจรัฐ ส่งเสริมธรรมาภิบาลและการกระจายอานาจไปสู่ประชาชนโดยรวม ระยะ 5 ปี ของการบังคับใช้รัฐธรรมนูญมีการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญในประวัติศาสตร์การเมืองไทยอย่างชัดเจน


     อย่างไรก็ดีหลังการบังคับใช้รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันมาแล้วกว่า 5 ปี รัฐบาลได้ดาเนินการกระจายอานาจไปแล้วอย่างเป็นขั้นขั้นเป็นตอน ประชาชนในท้องถิ่นต่างๆ ได้เริ่มเรียนรู้เรื่องของการมีส่วนร่วมและการกระจายอานาจและมีการใช้ประโยชน์จากเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญฉบับนี้ ดังนั้นสิ่งที่ท้าทายอย่างหนึ่งคือ การประเมินผลการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยการศึกษาครั้งนี้ได้ทาการประเมินผลการมีส่วนร่วมของประชาชนในบริบทการกระจายอานาจ การจัดทาตัวชี้วัดประสิทธิผลและประสิทธิภาพการมีส่วนร่วมของประชาชนตามรัฐธรรมนูญแห่งราช-อาณาจักรไทย พุทธ-ศักราช 2540 โดยใช้กรณีศึกษา 3 กรณี คือ สภาพัฒนาหมู่บ้านหนองโกอาเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม เครือข่ายป่าชุมชนลุ่มน้าแม่ปิงตอนบน อาเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ และเครือข่ายองค์กรชุมชนประมงพื้นบ้าน จังหวัดปัตตานี

Article Details

How to Cite
bureekul, thawilwadee ., mansup, sarunyu ., & parnpuangsri, sirikunya . (2020). การประเมินผลการส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมืองในบริบทของการกระจายอานาจและการจัดทากรณีศึกษาจากประสบการณ์ที่ได้รับ : กรณีศึกษา สภาพัฒนาหมู่บ้านหนองโก อาเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม เครือข่ายป่าชุมชนลุ่มน้าแม่ปิงตอนบน อาเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ และ องค์กรชุมชนประมงพื้นบ้านจังหวัดปัตตานี อาเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี. King Prajadhipok’s Institute Journal, 2(3). Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/kpi_journal/article/view/244880
Section
Original Articles

References

คนึงนิจ ศรีบัวเอี่ยม และคณะ. รายงานการวิจัย เรื่อง แนวทางการเสริมสร้างประชาธิปไตยแบบมีส่วน ร่วมตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540: ปัญหา อุปสรรค และทางออก. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2545.

เจมส์ แอล เครตัน. คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการตัดสินใจของชุมชน. แปลโดย ศ.นพ.วันชัย วัฒนศัพท์. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2543.

ชัยอนันต์ สมุทวนิช. รายงานการประชุมวิชาการครั้งที่ 3 เรื่อง การกระจายอานาจและการปกครองท้องถิ่นในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพระปกเกล้า, 2545.

ชาติชาย ณ เชียงใหม่. การบริหารการพัฒนาชนบทเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน. กรุงเทพมหานคร: บริษัท 21 เซ็นจูรี จากัด, 2543.

ถวิลวดี บุรีกุล และคณะ. “การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนและความคิดเห็นต่อการ ทางานของรัฐบาลและองค์กรอิสระ” เอกสารประกอบการประชุมวิชาการสถาบัน พระปกเกล้าครั้งที่ 4 เรื่อง 5 ปี ของการปฏิรูปการเมืองตามรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ที่ศูนย์ประชุมสหประชาชาติ 8-10 พฤศจิกายน 2545.

ธเนศวร์ เจริญเมือง. 100 ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. 2440–2540. กรุงเทพมหานคร: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2545.

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ และคณะ. บทเรียนจากการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาเพื่อปรับปรุงระบบการเลือกตั้งให้ดีขึ้น. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2543.

ประชัน รักพงษ์. “การส่งเสริมเครือข่ายสนับสนุนการมีส่วนร่วมและการกระจายอานาจสู่ท้องถิ่น กรณีศึกษา เครือข่ายป่าชุมชนลุ่มน้าแม่ปิงตอนบน อาเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่”

รายงานการวิจัยเชิงปฏิบัติการโครงการการส่งเสริมเครือข่ายสนับสนุนการมีส่วนร่วมและการกระจายอานาจสู่ท้องถิ่น. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2547.

ประทาน คงฤทธิศึกษากร. ทฤษฎีการปกครองท้องถิ่น. กรุงเทพมหานคร: ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2525.

ปริญญา เทวานฤมิตรกุล. สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. 2540) หมวดสิทธิ เสรีภาพเรื่อง สิทธิเสรีภาพและการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2544.

พระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น พุทธศักราช 2542.

ไพลิน เขื่อนทา และ ศุภลักษณ์ ล้อมลาย. “รัฐศาสตร์ไทยกับศักยภาพในการจัดการความขัดแย้ง.” การประชุมวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 2 ที่โรงแรมปางสวนแก้ว จังหวัดเชียงใหม่ 2544.

ยุวดี ตปนียากร และคณะ. การส่งเสริมเครือข่ายสนับสนุนการมีส่วนร่วมและการกระจายอานาจสู่ท้องถิ่น กรณีศึกษา สภาพัฒนาหมู่บ้านหนองโก อาเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม” รายงานการวิจัยเชิงปฏิบัติการโครงการการส่งเสริมเครือข่ายสนับสนุนการมีส่วนร่วมและการกระจายอานาจสู่ท้องถิ่น. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2547.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540.

เรวดี ประเสริฐเจริญสุข. กฎหมายและการใช้มาตรการทางกฎหมายกับการแก้ไขปัญหาและ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการทรัพยากรทะเล : บทเรียนจากกรณี ความขัดแย้งการทาประมงปลากะตักประกอบแสงไฟ. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2543.

ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี และคณะ. การส่งเสริมเครือข่ายสนับสนุนการมีส่วนร่วมและการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น กรณีศึกษาองค์กรชุมชนประมงพื้นบ้านจังหวัดปัตตานี” รายงานการวิจัยเชิงปฏิบัติการโครงการการส่งเสริมเครือข่ายสนับสนุนการมีส่วนร่วมและการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2547.

สกนธ์ วรัญญูวัฒนา และคณะ. “การจัดสรรรายได้ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” รายงานการศึกษาโครงการจัดสรรรายได้ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพมหานคร: กรม ส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย, 2546.

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. ขอบเขตอานาจหน้าที่และความสัมพันธ์ระหว่างองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นกับราชการบริหารส่วนกลางและส่วนภูมิภาค และระหว่างองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นด้วยตนเอง ตลอดจนรูปแบบและขนาดที่เหมาะสมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2546.

Boutros-Ghali, Boutros. 2000. An Agenda for Democratization. In B. Holden (Ed.) Global Democracy. New York: Rout ledge.

Diamond, Larry and Marc F. Plattner. 1998. Democracy in East Asia. Baltimore and London: The Johns Hopkins University Press.

Sorensen, George. 1998. Democracy and Democratization: Process and Prospects in Changing World. Boulder, Colorado: Westview Press.

Wasi, Prawase. June 2001. “The Triangle That Moves The Mountain.” API Newsletter, p.9-10.

กลุ่มผู้ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน ตาบลรูสะมิแล อาเภอเมือง จังหวัดปัตตานี. สัมภาษณ์, 3 ตุลาคม 2545.

กลุ่มผู้นาชุมชนและประชาชน ตาบลบานา จังหวัดปัตตานี. สัมภาษณ์, 24 มกราคม 2546.

แดง คงอิน. สมาชิกองค์กรชุมชนประมงพื้นบ้าน จังหวัดปัตตานี. สัมภาษณ์, 1 ตุลาคม 2545.

ธวัชชัย วิเศษทักษิน. กรรมการสหกรณ์หมู่บ้านหนองโก อาเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม. สัมภาษณ์, 20 ตุลาคม 2545.

นายกองค์การบริหารส่วนตาบลรูสะมิแล อาเภอเมือง จังหวัดปัตตานี. สัมภาษณ์, 23 มกราคม 2546.

พันตารวจตรีสมชาย ศุภวุฒิ. สารวัตรตารวจน้าปัตตานี. สัมภาษณ์, 3 ตุลาคม 2546.

มูหะมะสุกรี มะสะนิง. ประธานองค์กรชุมชนประมงพื้นบ้านจังหวัดปัตตานี. สัมภาษณ์, 1 ตุลาคม 2545 และ 22 มกราคม 2546.

วสันต์ ศรีวัฒนะ. ประมงจังหวัดปัตตานี. สัมภาษณ์, 23 มกราคม 2546.

สาราญ จันทะคาม. ประธานสภาพัฒนาหมู่บ้านหนองโก อาเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม.

สัมภาษณ์, 20 ตุลาคม 2545 และ 4-5 พฤษภาคม 2546.

จันทนา อึ้งชูศักดิ์ และคณะ. การกระจายอานาจกับความร่วมมือเพื่อแก้ปัญหาสาธารณสุข ในท้องถิ่นกระทรวงสาธารณสุข: http://www.rdhc.net/help_think/dist.asp.

สานักพัฒนาและส่งเสริมการบริหารงานท้องถิ่น : กระทรวงมหาดไทย http://www.thailocalgov.net/menu4.1.html.

Manktlelow, James. 2003. Understanding Strengths Weakness Opportunities and Threats Mind

Tools. http://www.mindtools.com/pages/arfiele/newTMC05.htm.