บทวิจารณ์หนังสือ เรื่อง “The Price of Government: Getting the Results We Need in an Age of Permanent Fiscal Crisis”
Main Article Content
Abstract
ในสภาวการณ์ปัจจุบัน รัฐบาลในหลายประเทศต่างประสบปัญหาวิกฤตในการบริหารงานคลังภาครัฐ (Fiscal Crisis) เป็นอย่างมาก สาเหตุหนึ่งเนื่องมาจากข้อจากัดในการจัดเก็บภาษีของรัฐบาลที่ไม่สามารถกาหนดอัตราภาษีเพิ่มขึ้นได้ตามอาเภอใจ และอีกสาเหตุหนึ่งเนื่องมาจากข้อเรียกร้องของประชาชนที่ต้องการให้รัฐทาหน้าที่จัดบริการสาธารณะขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สิ่งเหล่านี้ล้วนส่งผลต่อการขยายตัวของค่าใช้จ่ายภาครัฐในสัดส่วนที่สูงกว่าความสามารถในการหารายได้ และในที่สุดก็ส่งผลให้เกิดปัญหาการขาดดุลการคลังอย่างเรื้อรัง สภาวะที่ไม่สมดุลเช่นนี้ทาให้รัฐบาลต้องคิดหาวิธีการบริหารในลักษณะใหม่ที่จะช่วยให้เกิดความสมดุลระหว่างรายได้และรายจ่าย และอีกนัยหนึ่งก็คือสภาวะสมดุลระหว่างการตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในขณะที่รัฐบาลเองก็มีทรัพยากรเพียงพอที่จะใช้ในการดาเนินงานอย่างยั่งยืน การแก้ไขปัญหาเช่นนี้ย่อมมิใช่สิ่งที่กระทาได้ง่ายเท่าใดนัก
Article Details
@ 2020 King Prajadhipok's Institute The Government Complex Commemorating All Right Reserved.
References
Osborne, David and Peter Hutchinson. The Price of Government: Getting the Results We Need in an Age of Permanent Fiscal Crisis. New York: Basic Books. 2004.
จรัส สุวรรณมาลา. ระบบงบประมาณและการจัดการแบบมุ่งผลสาเร็จในภาครัฐ: ความสัมพันธ์ระหว่างพลเมืองและรัฐในยุคใหม่, กรุงเทพฯ: ธนธัชการพิมพ์, มิถุนายน 2546.
จรัส สุวรรณมาลา และคณะ, นามานุกรมนวัตกรรมท้องถิ่นไทย ประจาปี 2547, กรุงเทพฯ: โครงการวิถีใหม่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547.
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์, เศรษฐศาสตร์รัฐธรรมนูญ: บทวิเคราะห์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 เล่ม 1, กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน, 2546.
วีระศักดิ์ เครือเทพ, “บทวิจารณ์หนังสือเรื่องระบบงบประมาณและการจัดการแบบมุ่งผลสาเร็จในภาครัฐ: ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับพลเมืองในยุคใหม่", วารสารสถาบันพระปกเกล้า, ปีที 1 ฉบับที่ 2, ธันวาคม 2546. หน้า 71-84.