ทิศทางกระบวนการสันติภาพชายแดนใต้จากมุมมองของประชาชน
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมในกระบวนการสันติภาพของประชาชนในพื้นที่ความขัดแย้งผ่านการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการสำรวจความคิดเห็นประชาชนต่อกระบวนการสันติภาพจังหวัดชายแดนภาคใต้ (Peace Survey) พ.ศ.2566 ในมิติความสัมพันธ์เชิงอำนาจระดับต่างๆ ผลการวิจัยพบว่ากระบวนการสันติภาพเผชิญกับภาวะท้าทายเมื่อแนวคิดเชิงวิพากษ์มีพื้นที่จำกัดในงานเชิงนโยบาย ข้อเสนอของงานวิจัยนี้สะท้อนความสำคัญของการขยายพื้นที่ทางความคิด การมีส่วนร่วมในกระบวนการสันติภาพหลากมิติ และการมีอยู่ของตัวตนของผู้ให้ข้อมูลที่เป็นประชาชนในภาคส่วนต่างๆ ที่ให้การสนับสนุนและเชื่อมั่นว่ากระบวนการปรึกษาหารือสาธารณะสามารถดำเนินได้อย่างอิสระและปลอดภัย ท่ามกลางการเปลี่ยนผ่านทางการเมืองในช่วงการเลือกตั้งที่สัมพันธ์กับความหวังของประชาชนต่อความคืบหน้าในการพูดคุยสันติภาพ ขณะที่ความท้าทายสำคัญจากมุมมองของประชาชนคือ ขาดผลลัพธ์ในกระบวนการพูดคุยที่เป็นรูปธรรมกระทั่งส่งผลให้ยังไม่สามารถยุติความรุนแรงได้อย่างแท้จริง
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
@ 2020 King Prajadhipok's Institute The Government Complex Commemorating All Right Reserved.
References
ภาษาไทย
เครือข่ายวิชาการ Peace Survey. (2559). ผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนต่อกระบวนการสันติภาพจังหวัดชายแดนภาคใต้ ครั้งที่ 1 กุมภาพันธ์-มีนาคม 2559. กรุงเทพฯ: สำนักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า.
เครือข่ายวิชาการ Peace Survey. (2563). ผลการสํารวจความคิดเห็นของประชาชนต่อกระบวนการสันติภาพจังหวัดชายแดนภาคใต้ ครั้งที่ 5 กันยายน–ตุลาคม 2562. กรุงเทพฯ: สำนักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า.
เครือข่ายวิชาการ Peace Survey. (2564). เอกสารเผยแพร่การแถลงผลการสํารวจความคิดเห็นของประชาชนต่อกระบวนการสันติภาพจังหวัดชายแดนภาคใต้ ครั้งที่ 6. สืบค้นจาก https://cscd.psu.ac.th/th/node/342
ฆายนีย์ ช. บุญพันธ์. (2562, มกราคม-เมษายน). การมีส่วนร่วมของกลุ่มต่างๆ เพื่อสร้างสันติภาพอย่างยั่งยืนในชายแดนใต้. วารสารสถาบันพระปกเกล้า, 17(1), 100-117.
จันจิรา สมบัติพูนสิริ. (2558). เหตุใดต่อต้านด้วยสันติวิธีจึงได้ผล: ตรรกะเชิงยุทธศาสตร์ของความขัดแย้งแบบไม่ใช้ความรุนแรง. กรุงเทพฯ: คบไฟ.
ฉัตรชัย ศรีเมืองกาญจนา. (2567). แผนปฏิบัติการร่วมเพื่อสร้างสันติสุขแบบองค์รวม (JCPP). ใน ร้อยเรื่องเมืองไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สืบค้นจาก https://dl.parliament.go.th/backoffice/viewer2300/web/viewer.php
ไทยพีบีเอส. (2566). เริ่มแล้ว! เวทีพูดคุยสันติสุขแบบเต็มคณะ. สืบค้นจาก https://www.thaipbs.or.th/news/content/324798
พัทธ์ธีรา นาคอุไรรัตน์. (2556). “คนกลุ่มน้อยนิด” กับ “ชีวิตแห่งการต่อรอง” ในบริบทความรุนแรงถึงตาย: กรณีศึกษาชาวคาทอลิกในปัตตานี. (ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต) มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์, วิทยาลัยสหวิทยาการ, สาขาวิชาสหวิทยาการ. กรุงเทพฯ.
สำนักข่าวอิศรา. (2557). ทำไมต้องเปลี่ยนจาก "พูดคุยสันติภาพ" เป็น "พูดคุยเพื่อสันติสุข". สืบค้นจาก https://www.isranews.org/content-page/item/31925-talk_31925.html
สิทธิ ตระกูลวงศ์. (2562). กระบวนการพูดคุยเพื่อสันติสุข จชต. : ความท่้าทายของการต่อสู้ทางความคิดตามแนวทางสันติวิธีในทัศนะของผู้ปฏิบัติงานจริง (ห้วงปี 2558 - 2561). กรุงเทพฯ: เมจิก แอนด์ พิคเซลเวิคส์ สตูดิโอ
ภาษาอังกฤษ
Ballamingie, Patricia. (2009). Democratizing Public Consultation Processes: Some Critical Insights. Journal of Public Deliberation, 5(1). Retrieved from https://www.publicdeliberation.net/jpd/vol5/iss1/art11?utm_source=www.publicdeliberation.net%2Fjpd%2Fvol5%2Fiss1%2Fart11&utm_medium=PDF&utm_campaign=PDFCoverPages
Berry, Laura H., Koski, Jessica., Verkuijl ,Cleo., Strambo, Claudia & Piggot, Georgia. (2019). Making Space: How Public Participation Shapes Environmental decision-making. Retrieved from http://www.jstor.com/stable/resrep22993
Boonpunth, Kayanee. Chor. & Rolls, G. Mark. (2017). Peace Survey–Lessons Learned from Northern Ireland to Southern Thailand. ASR: CMU Journal of Social Sciences and Humanities, 4(2), 133-153.
Buetow, Stephen. (2003). The Ethics of Public Consultation in Health Care: An Orthodox Jewish Perspective. Health Care Analysis, 11( 2), 151-160.
Choldin, H. M. (1986). Statistics and Politics: The "Hispanic Issue" in the 1980 Census. Demography, 23(3), 403-418.
Darby, John & Ginty, R. M. (2008). Introduction: What Peace? What Process? In John Darby. & Roger Mac Ginty (Eds.), Contemporary Peacemaking
(pp. 1-8). Palgrave Macmillan, London. https://doi.org/
1057/9780230584556_1
Fishkin, James S. (2009). When People Speak Deliberative Democracy and Public Consultation. Oxford: Oxford University Press.
Galtung, J. & Jacobsen, Carl G. (2000). Searching for Peace: The Road to TRANSCEND. London: Pluto Press.
Health Funding Authority. (2000). Consultation Obligations and Guidelines. Christchurch: Health Funding.
Herbolzheimer, Kristian. (2015). Multiple Paths to Peace: Public Participation for Transformative and Sustainable Peace Processes. Kultur, 2(3), 139-156.
Horkheimer, Max. (1989). Traditional and Critical Theory. In Max Horkheimer, Critical Theory: Selected Essays (pp.188-243). New York: Continuum.
Innovation for Poverty Action. (2021). Measuring Knowledge and Understanding of the Peace Process in Myanmar. Retrieved from https://poverty-action.org/measuring-knowledge-and-understanding-peace-process-myanmar
Litva, Andrea et al. (2002). The Public is Too Subjective: Public Involvement at Different Levels of Health-care Decision Making. Social Science and Medicine, 54(1), 1825–1837.
Ozerdam, Alpaslan & Ginty, Mac Roger. (2019). Comparing Peace Process. London: Routledge.
Patomäki, Heikki. (2001). The Challenge of Critical Theories: Peace Research at the Start of the New Century. Journal of Peace Research, 38(6), 723-737.
Paffenholz, Thania. (2014). Broadening Participation in Peace Processes: Dilemmas & Options for Mediators. Retrieved from https://hdcentre.org/
wp-content/uploads/2021/03/MPS4-Broadening-participation-in-peace-processes-July-2014-1.pdf
Public Health Commission. (1994). Consultation Guidelines. Wellington: Public Health Commission.