นโยบายการจัดการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์โดยชุมชนอย่างยั่งยืน

Main Article Content

นภธร ศิวารัตน์
ภักดี โพธิ์สิงห์

บทคัดย่อ

การจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน มีเป้าหมายอยู่ที่การอยู่ร่วมกับทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนภายใต้เงื่อนไข การบีบคั้นจากนโยบาย ที่ทำให้มีการแย่งชิงทรัพยากร (ความรู้ อำนาจ กฎหมายอยู่ในมือของภาครัฐ) ในปัจจุบันพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวได้เปลี่ยนแปลงไป นักท่องเที่ยวต้องการมีส่วนร่วมกับกิจกรรมการท่องเที่ยว เพิ่มมากขึ้น ประกอบกับปัญหาด้านการจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยว จึงเกิดการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ที่เปิดโอกาสให้นักท่องเที่ยวและชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการจัดการท่องเที่ยว ประเทศไทยมีทรัพยากรด้านการท่องเที่ยวที่ อุดมสมบูรณ์จึงมีโอกาสที่จะพัฒนาเป็นการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ การจัดการท่องเที่ยวตามกรอบแนวคิดของการจัดการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์โดยชุมชน พบว่า ประเทศไทยมีปัจจัยสนับสนุน หลายประการในการพัฒนาการท่องเที่ยวไปสู่การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ซึ่งการศึกษาเพื่อสร้างองค์ความรู้จะช่วยให้ การจัดการท่องเที่ยวแบบใหม่ๆ โดยชุมชนนี้มีแบบแผนที่ชัดเจน และเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง สร้างรายได้ให้กับประเทศ และนำ ไปสู่การพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแบบยั่งยืนต่อไปในอนาคตตามแผนพัฒนานโยบายของประเทศไทย

Article Details

บท
Academic Article

References

กรมการท่องเที่ยว. (2558). รายงานการวิจัยเรื่องข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวในประเทศไทย.กรุงเทพมหานคร:
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2559).การดำเนินการเพื่อกำหนดนโยบายการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์.
เข้าถึงเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2560 จาก http://www.mots.go.th/main.php?filename=index
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2560).ความสำคัญของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว.เข้าถึงเมื่อ 3 กุมภาพันธ์
พ.ศ.2560 จาก www.tat.or.th/?pv=14%20&view=1 - 65k.
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) สำนักงานสุพรรณบุรี. (2560).แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ.
2555-2559.เข้าถึงเมื่อ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2560 จากhttp://www.tatsuphan.net/
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.(2559).แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) .หน้า 24)
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา.“องค์ความรู้เกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิง
สร้างสรรค์ (Creative Tourism)” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้ สืบค้น 28 มีนาคม 2560.
จาก: http://www.dasta.or.th/creativetourismdf
พจนา สวนศรี. 2546. เอกสารการสอนชุดวิชา หน่วยที่ 8-15 การจัดการนันทนาการและการท่องเที่ยว
ทางธรรมชาติ.นนทบุรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
วรินทร์ธร ธรสารสมบัติ. (2556). ความร่วมมือระหว่างภาครัฐภาคเอกชนและชุมชนในการพัฒนา การ
ท่องเที่ยว.ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง.หน้า 31
วีระพล ทองมา และ ประเจต อำนาจ. (2547). ผลที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวต่อประชาชนใน
พื้นที่ตำบนแม่แรม อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่: รายงานผลการวิจัย มหาวิทยาลัยแม่
โจ้.
วีระพล ทองมา และ วินิตรา ลีละพัฒนา. (2554). ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีต่อการจัด กิจกรรม
การท่องเที่ยวของชุมชนบ้านแม่สา ตำบลโป่งแยง อำเภอแม่ริม จังหวัด เชียงใหม่. เชียงใหม่: รายงานผลการวิจัย
คณะพัฒนาการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
วิยะดา เสรีวิชัยสวัสด์, (2555).การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม.วิทยานิพนธ์ เรื่อง ตัวแบบสมการโครงสร้างปัจจัยที่ส่งผลต่อการ
พัฒนาเศรษฐกิจชุมชนเพื่อพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ หน้า 31.
ตุลยราศรี ประเทพ. (2558). รูปแบบผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศแบบมีส่วนร่วม. ดุษฎี
นิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ศูนย์วิจัยด้านตลาดการท่องเที่ยว,(2558).การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (สำนักงานใหญ่),1600 ถ.เพชรบุรีตัดใหม่ แขวง
มักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพฯ .
สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2559). แผนการตลาดการท่องเที่ยวประจำปี 2559 เข้าถึงเมื่อ
20 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2560 หน้า 71 (Online) จาก http://www.thailandtourismcouncil.org/]
สินธุ์ สโรบล และคณะ (2547).สินธุ์ สโรบล และคณะ.2546. การท่องเที่ยวโดยชุมชน: แนวคิดประสบการณ์พื้นที่ภาคเหนือ.
เชียงใหม่: วนิดาเพรส.
สำนักพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต.(2546). แผนปฏิบัติราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.
สำนักงาน ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ ของกรมพัฒนา 30 กันยายน 2513 หน้า 1-2
สำนักงานพัฒนาการการท่องเที่ยวกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2558). โครงการสานสัมพันธ์เครือข่าย
ชุมชนเพื่อการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร: วิริยะการพิมพ์.
สำนักงานสถิติเศรษฐกิจและสังคม, 2557).การสํารวจภาวะเศรษฐกิจและ สังคมของครัวเรือน วันที่ 26 พ.ค. 2014 .สํานักงาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ส่วนแรก: ผลสํารวจภาวการณ์ทํางานของประชากรไตรมาส
หนึ่ง ปี. ที่ มา: การสํารวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย สํานักงานสถิติแห่งชาติ.
สุดแดน วิสุทธิลักษณ์และคณะ.(2554).การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ Creative. Tourism Thailand ... วารสารเมืองโบราณ ปี
ที่ 37 ฉบับ 1 มกราคม-มีนาคม, 2554.หน้า 15.
อมรรัตน์ วงศ์เป็น. (2552). ปัจจัยทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวประเทศไทยของนักท่องเที่ยว ชาวยุโรป.
RMUTTGlobal Business and Economics Review.Vol.4, No.2, March 2009,39-57
American Demographics. (2000). Travel industry association. Parsons. New York : Free Press.