นโยบายการพัฒนาหมู่บ้านและชุมชนอย่างยั่งยืนโดยศาสตร์พระราชา

Main Article Content

พวงเพชร ทองหมื่นไวย

บทคัดย่อ

นโยบายการพัฒนาหมู่บ้านและชุมชนอย่างยั่งยืนโดยศาสตร์พระราชา นับจาก พ.ศ. 2504 ประเทศไทยได้กำหนดให้มีแผนเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เพื่อเป็นแนวทางการพัฒนาประเทศ การพัฒนาทางเศรษฐกิจ และ สังคมในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1-7 ที่ผ่านมาเกิดจากการนำทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ และความได้เปรียบด้านแรงงานที่มีราคาถูกและมีอยู่อย่างเหลือเฟือ ของประเทศมาใช้สนับสนุนการพัฒนาและขยายฐานการผลิตทำให้ระบบเศรษฐกิจมีการขยายตัวในอัตราที่สูง แต่การเติบโตดังกล่าวนอกจากจะต้องแลกเปลี่ยนด้วยทรัพยากร ธรรมชาติที่ร่อยหลอ และเสื่อมโทรมลงเป็นอย่างมากและต้องมีการลงทุน เทคโนโลยีและการตลาดจาก ต่างประเทศได้


ในขณะที่ข้อจำกัดที่เป็นอยู่ของประเทศทั้งด้านการพัฒนาศักยภาพของคน การบริหารจัดการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการเสริมสร้างฐานทางด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี จึงส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพและประสิทธิภาพโดยรวม ของการพัฒนาประเทศอันจะนำไปสู่ขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ ส่วนปัญหาที่เกิดตามมา คือ ความขัดแย้งในสังคมจากการ เลื่อมล้ำของรายได้และการแย่งชิงทรัพยากรธรรมชาติที่ เหลืออยู่เพียงเล็กน้อยนั้นมากขึ้น รวมถึงการพัฒนาจะกระจุกอยู่เฉพาะพื้นที่ในเขตเมือง และชุมชนด้านอุตสาหกรรม ไม่เกิดการกระจายการพัฒนาสู่ชนบท ซึ่งเป็นพื้นที่ของคนส่วนใหญ่ของประเทศ เกิดการอพยพปัจจัยการผลิตของชุมชนโดยเฉพาะแรงงาน ซึ่งส่งผลถึงการแยกคนออกจากชุมชน ทำให้สรุปได้ว่าแม้การพัฒนาเศรษฐกิจจะบรรลุผลตาม ความมุ่งหมาย แต่ความสำเร็จดังกล่าวได้นำไปสู่ผลการพัฒนา ที่ไม่พึงปรารถนาทางด้านสังคม และการพัฒนานั้นอาจจะไม่ยั่งยืนต่อไป

Article Details

บท
Academic Article

References

กนกพร รัตนสุธีระกุล. (2555). จุดเด่นจุดด้อยของกองทุนพัฒนาศักยภาพหมู่บ้านและชุมชน
(SML). ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม.
กองทุนหมูํบ๎านและชุมชนเมือง จังหวัดมหาสารคาม. (2557). การดาเนินการโครงการ SML.
เข๎าถึงเมื่อ 6 กันยายน 2558, จาก https://www.facebook.com/pages/กองทุน
หมูํบ๎านและชุมชนเมือง จ.มหาสารคาม/1388113261402266.
กาญจนา แก๎วเทพ. (2538). การพัฒนาแนววัฒนธรรมชุมชน: โดยถือมนุษย์เป็นศูนย์กลาง.
กรุงเทพฯ : สภาคาทอลิกแหํงประเทศไทยเพื่อการพัฒนา.
กุลธน ธนาพงศธร. (2522). ปัจจัยการกาหนดนโยบายของรัฐ. กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
คณะกรรมการกองทุนหมูํบ๎านและชุมชนเมืองแหํงชาติ. (2554). ระเบียบคณะกรรมการกองทุน
หมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ ว่าด้วยแนวทางการดาเนินงานตามโครงการพัฒนา
ศักยภาพของหมู่บ้านและชุมชน (SML) พ.ศ. 2554.
เจริญศักดิ์ สังข์ทอง. (2547). ประสิทธิผลการดาเนินงานของกองทุนหมู่บ้าน: กรณีศึกษาเฉพาะ
กรณี ตาบลสวนแตง อาเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาพัฒนาสังคม, สถาบันพัฒนบริหารศาสตร์.
ฉัตรทิพย์ นาถสุภาและคณะ. (2541). “ทฤษฎีและแนวคิดเศรษฐกิจชุมชนชาวนา”โครงการวิถี
ทรรศน์. หน๎า 241-250.
วรเดช จันทรศร. (2541). การบริหารโครงการพัฒนาของรัฐ. กรุงเทพฯ : สหายบล็อกการพิมพ์
สำนักงานกองทุนหมูํบ๎านและชุมชนเมืองแหํงชาติ. (2555). คู่มือการดาเนินงานโครงการพัฒนา
ศักยภาพของหมู่บ้านและชุมชน (SML) ตามระเบียบคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านและ
ชุมชนเมืองแห่งชาติว่าด้วยแนวทางการดาเนินโครงการพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้านและ
ชุมชม (SML) พ.ศ. 2555.
สำนักงานกองทุนหมูํบ๎านและชุมชนเมืองแหํงชาติ. (2555). คาแนะนาการดาเนินงานโครงการ
พัฒนาศักยภาพของหมู่บ้านและชุมชน (SML) ตามระเบียบคณะกรรมการกองทุน
หมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติว่าด้วยแนวทางการดาเนินโครงการพัฒนาศักยภาพของ
หมู่บ้านและชุมชน (SML) พ.ศ. 2555.
สำนักงานพัฒนาศักยภาพของหมูํบ๎าน/ชุมชน SML. (2548). คู่มือข้าราชการฝ่ายปกครอง.
กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.
สำนักงานสํงเสริมการปกครองท๎องถิ่นจังหวัดมหาสารคาม. (2557). สภาพทั่วไป. เข๎าถึงเมื่อ 29
สิงหาคม 2560, จาก http://www.mklocal.go.th/center.
สำนักงานสถิติแหํงชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2548). โครงการพัฒนา
ศักยภาพของหมู่บ้าน/ชุมชนขนาดเล็ก กลาง ใหญ่. เข๎าถึงเมื่อ 16 มิถุนายน 2556, จาก
www.sml.go.th.
สำนักนายกรัฐมนตรี. (2560). ผลการดาเนินโครงการพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้านและชุมชน
(SML) และโครงการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีในจังหวัดชลบุรี. กรุงเทพฯ : กรม
ประชาสัมพันธ์ สำนักนายกรัฐมนตรี.
สุกัญญา อิ่มเอมธรรม. (2546). การจัดการและการพัฒนาองค์การ. ขอนแกํน : คลังนานาไทย.
สุคนธ์ทิพย์ ทิพย์พิชัย. (2549). การดาเนินงานของโครงการพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้าน/ชุมชน
(SML) ของหมู่บ้านคุ้มใต้ และหมู่บ้านดงเค็ง จังหวัดมหาสารคาม. รัฐประศาสนศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะ, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.