แนวคิดในการปกครองในพระพุทธศาสนา
Main Article Content
บทคัดย่อ
การปกครองเกิดขึ้นตามธรรมชาติเมื่อมนุษย์มาอาศัยอยู่ร่วมกัน และมนุษย์นั้นมีความต้องการที่แตกต่างกัน ดังนั้นเมื่อมีการอยู่ร่วมกันจึงเกิดความขัดแย่งเป็นเหตุให้ต้องมีกฏระเบียบเป็นตัวควบคุมเพื่อให้เกิดความสงบเรียบร้อย การปกครองนั้นจึงขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม วัฒนธรรมในที่นั้นๆ ทั้งที่เป็นแบบการกระจายอำนาจและการรวมอำนาจไว้ที่ผู้ปกครองแต่เพียงผู้เดียว
แนวคิดในการปกครองในพระพุทธศาสนาเป็นการปกครองที่มีเอกลักษณ์ซึ่งเป็นรูปแบบการปกครองที่เป็นประชาธิปไตย มีการกระจายอำนนาจและการแบ่งหน้าที่อย่างชัดเจน มีสิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาค ภายใต้กฏหมาย คือ พระวินัยบัญญัติ ซึ่งสามารถกล่าวได้ว่า แนวคิดเรื่องการปกครองในพระพุทธศาสนานั้น เป็นแนวคิดที่เป็นประชาธิปไตย
Article Details
บท
Academic Article
References
ดานุภา ไชยพรธรรม. (2550). การเมืองการปกครอง (ฉบับชาวบ้าน). กรุงเทพมหานคร: มายิกสานักพิมพ์.
ธนา นวลปลอด.(2536). ความคิดทางการเมืองในสุตตันตปิฎก. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิต
วิทยาลัย:มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
นางสาวมรกต สิงหแพทย์. (2522). การวิเคราะห์ลักษณะประชาธิปไตยในพุทธศาสนา. วิทยานิพนธ์อักษรศาสต
รมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บรรจบ เนียมมณี. (2521). การเมืองเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ
โรฒ.
ประยงค์ สุวรรณบุบผา. (2541). รัฐปรัชญา แนวคิดตะวันออก-ตะวันตก. ก รุง เ ท พ ม ห า น ค ร : สานักพิมพ์
โอเดียนสโตร์
ปรีชา ช้างขวัญยืน. (2540). ทรรศนะทางการเมืองของพระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร: โครงการตาราคณะ
อักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). (2545). ธรรมนูญชีวิต: พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตที่ดีงาม, พิมพ์ครั้งที่ 14.
กรุงเทพมหานคร: กองทุนอริยมรรค.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2548) รัฐศาสตร์และจริยธรรมนักการเมืองแนวพุทธ. กรุงเทพมหานคร:
มูลนิธิพุทธธรรม.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2554). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร :
ราชบัณฑิตยสถาน.
รองศาสตราจารย์ ดร.เรืองวิทย์ เกษสุวรรณ. (2548). หลักรัฐศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: บริษัทบพิธการพิมพ์
จำกัด.
วิทยากร เชียงกูล. (2551). ปฏิวัติประชาธิปไตยเพื่อแก้ไขวิกฤติของชาติ. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์สายธาร.
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. (2541). วินัยมุข เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 39. กรุงเทพมหานคร :
มหามกุฏราชวิทยาลัย.
สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. (2554). กำรเมือง: แนวควำมคิดและกำรพัฒนำ, พิมพ์ครั้งที่ 9, กรุงเทพมหานคร: สานัก
พิมพ์ เสมาธรรม.
เอส.เอส. อนาคามี. (2555). พุทธรัฐ. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ สยามมิส พับลิชชิ่งเฮ้าส์.
David Easton. (1977). “The Analysis of Political Systems”, Comparative politics: notes and readings, ed. by Roy C. Macridis and Bernard Edward Brown, 5th ed. (Homewood, Ill., Dorsey Press.
Gabriel A. Almond. (1960). Introduction: A Functional Approach to Comparative Politics,The Politics of the Developing Areas, ed. by Gabriel A. Almond and James S. Coleman, Princeton, N.J.: Princeton University Press.
Jan-Erik Lane, Svante O. Ersson. (1994). Comparative Politics: an introduction and new
approach, (Cambridge, UK: polity press.
ธนา นวลปลอด.(2536). ความคิดทางการเมืองในสุตตันตปิฎก. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิต
วิทยาลัย:มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
นางสาวมรกต สิงหแพทย์. (2522). การวิเคราะห์ลักษณะประชาธิปไตยในพุทธศาสนา. วิทยานิพนธ์อักษรศาสต
รมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บรรจบ เนียมมณี. (2521). การเมืองเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ
โรฒ.
ประยงค์ สุวรรณบุบผา. (2541). รัฐปรัชญา แนวคิดตะวันออก-ตะวันตก. ก รุง เ ท พ ม ห า น ค ร : สานักพิมพ์
โอเดียนสโตร์
ปรีชา ช้างขวัญยืน. (2540). ทรรศนะทางการเมืองของพระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร: โครงการตาราคณะ
อักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). (2545). ธรรมนูญชีวิต: พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตที่ดีงาม, พิมพ์ครั้งที่ 14.
กรุงเทพมหานคร: กองทุนอริยมรรค.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2548) รัฐศาสตร์และจริยธรรมนักการเมืองแนวพุทธ. กรุงเทพมหานคร:
มูลนิธิพุทธธรรม.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2554). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร :
ราชบัณฑิตยสถาน.
รองศาสตราจารย์ ดร.เรืองวิทย์ เกษสุวรรณ. (2548). หลักรัฐศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: บริษัทบพิธการพิมพ์
จำกัด.
วิทยากร เชียงกูล. (2551). ปฏิวัติประชาธิปไตยเพื่อแก้ไขวิกฤติของชาติ. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์สายธาร.
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. (2541). วินัยมุข เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 39. กรุงเทพมหานคร :
มหามกุฏราชวิทยาลัย.
สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. (2554). กำรเมือง: แนวควำมคิดและกำรพัฒนำ, พิมพ์ครั้งที่ 9, กรุงเทพมหานคร: สานัก
พิมพ์ เสมาธรรม.
เอส.เอส. อนาคามี. (2555). พุทธรัฐ. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ สยามมิส พับลิชชิ่งเฮ้าส์.
David Easton. (1977). “The Analysis of Political Systems”, Comparative politics: notes and readings, ed. by Roy C. Macridis and Bernard Edward Brown, 5th ed. (Homewood, Ill., Dorsey Press.
Gabriel A. Almond. (1960). Introduction: A Functional Approach to Comparative Politics,The Politics of the Developing Areas, ed. by Gabriel A. Almond and James S. Coleman, Princeton, N.J.: Princeton University Press.
Jan-Erik Lane, Svante O. Ersson. (1994). Comparative Politics: an introduction and new
approach, (Cambridge, UK: polity press.