การศึกษาประเพณีเข้าพรรษาในสังคมไทยภาคอีสาน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาประเพณีการเข้าพรรษาในสังคมไทยภาคอีสานเป็นการศึกษาวิจัยแบบผสมผสาน(Mix Methodology Research) โดยใช้วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล ๒ รูปแบบคือรูปแบบวิจัยเชิงปริมาณเครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถามโดยคำนวณหาขนาดของกลุ่มตัวอย่างใช้สูตรของทาโร่ยามาเน่(Taro Yamane) ใช้วิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิแบบมีสัดส่วน ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน ๔๐๐ คน รูปแบบวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มเป้าหมายคือผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Information) โดยการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) คือ พระสงฆ์เจ้าหน้าที่องค์กภาครัฐและประชาชนผู้ร่วมพิธีจำนวน ๒๕ คน/รูป โดยสัมภาษณ์เกี่ยวกับประเพณีการเข้าพรรษาในสังคมไทยภาคอีสาน ๔ ด้าน คือ ด้านหลักธรรม ด้านพิธีกรรม ด้านความเชื่อและด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น
Article Details
บท
Research Articles
References
คณาจารย์สำนักพิมพ์เลี่ยงเซียง, นักธรรมชั้นโท, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์เลี่ยงเซียง, ๒๕๔๗.เติม วิภาคย์พจนกิจ, ประวัติศาสตร์อีสาน, กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๔๒.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พระไตรปิฎกภาษาไทย, ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.ประดับ ก้อนแก้ว, เทียนเข้าพรรษาจังหวัดอุบลราชธานี ประวัติการจัดทำและการประกวด, อุบลราชธานี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, ๒๕๕๐.พระบาทสมเด็จจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระราชพิธีสิงสองเดือน, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์รุ่งวัฒนา, ๒๕๑๖.
พิริยะ ไกรฤกษ์, จารึกพ่อขุนรามคำแหง : การวิเคราะห์เชิงประวัติศาสตร์ศิลปะ, กรุงเทพมหานคร : อมรินทร์พริ้นติ้งกรุ๊ป จำกัด, ๒๕๓๒.
สมจิต พรหมเทพ. การใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านของประชาชนชนบท, เชียงใหม่ : สถาบันราชภัฏเชียงใหม่,๒๕๔๓.
สมชาย ใจดี และยรรยง ศรีวราภรณ์, ประเพณีและวัฒนธรรม, กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จำกัด,๒๕๓๘.
สมปราชญ์ อัมมะพันธ์, ประเพณีและพิธีกรรมในวรรณคดีไทย, กรุงเทพมหานคร:โอเอสพริ้นติ้งเฮ้าส์, ๒๕๓๖.
สุพรรณ ณ บางช้าง, ขนบธรรมเนียมประเพณีความเชื่อ และแนวปฏิบัติในสมัยสุโขทัยถึงสมัยอยุธยา ตอนกลาง, กรุงเทพมหานคร : ฝ่ายวิจัยจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย, ๒๕๓๕.
สุรินทร์ คล้ายจินดา, แห่เทียนเข้าพรรษาอุบลราชธานี, อนุสาร อ.ส.ท. ปีที่ ๑๘ ฉบับที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๒๑.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พระไตรปิฎกภาษาไทย, ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.ประดับ ก้อนแก้ว, เทียนเข้าพรรษาจังหวัดอุบลราชธานี ประวัติการจัดทำและการประกวด, อุบลราชธานี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, ๒๕๕๐.พระบาทสมเด็จจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระราชพิธีสิงสองเดือน, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์รุ่งวัฒนา, ๒๕๑๖.
พิริยะ ไกรฤกษ์, จารึกพ่อขุนรามคำแหง : การวิเคราะห์เชิงประวัติศาสตร์ศิลปะ, กรุงเทพมหานคร : อมรินทร์พริ้นติ้งกรุ๊ป จำกัด, ๒๕๓๒.
สมจิต พรหมเทพ. การใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านของประชาชนชนบท, เชียงใหม่ : สถาบันราชภัฏเชียงใหม่,๒๕๔๓.
สมชาย ใจดี และยรรยง ศรีวราภรณ์, ประเพณีและวัฒนธรรม, กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จำกัด,๒๕๓๘.
สมปราชญ์ อัมมะพันธ์, ประเพณีและพิธีกรรมในวรรณคดีไทย, กรุงเทพมหานคร:โอเอสพริ้นติ้งเฮ้าส์, ๒๕๓๖.
สุพรรณ ณ บางช้าง, ขนบธรรมเนียมประเพณีความเชื่อ และแนวปฏิบัติในสมัยสุโขทัยถึงสมัยอยุธยา ตอนกลาง, กรุงเทพมหานคร : ฝ่ายวิจัยจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย, ๒๕๓๕.
สุรินทร์ คล้ายจินดา, แห่เทียนเข้าพรรษาอุบลราชธานี, อนุสาร อ.ส.ท. ปีที่ ๑๘ ฉบับที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๒๑.