แนวทางการป้องกันและปราบปรามการแพร่ระบาดของยาเสพติดประเภทยาบา

Main Article Content

ประทีบ นรากล่ำ

บทคัดย่อ

การแพร่ระบาดของยาเสพติด(ยาบ้า) สู่สังคมและชุมชนต่างๆในประเทศ ในทุกจุดที่มีสภาพความ เสี่ยงและจุดที่มีความอ่อนแอ มีปัญหามาจากสภาพเศรษฐกิจ ด้านการเมือง ด้านสังคม ด้านวัฒนธรรม และ ด้านสิ่งแวดล้อม ดังนั้นภาครัฐจึงต้องมีบทบาทและแนวทางออกมาเพื่อป้องกันและปราบปราม การแพร่ระบาด ของยาเสพติด(ยาบ้า) ควรดําเนินการ ดังนี้ ด้านป้องกันปราบปรามยาเสพติด(ยาบ้า)นั้นต้องมี แนวทางการ แก้ไขปัญหายาเสพติด(ยาบ้า) นั้นมีแนวทางการดําเนินการมากมาย เริ่มตั้งแต่ ต้องมีการแก้ไขที่หน่วยงานหรือ หัวเรือใหญ่ คือ ผู้สั่งการหรือผู้ที่ออกแผนโครงการต่างๆขึ้นมา ซึ่งสิ่งที่ออกมานั้นต้องดําเนินการอย่างจริงจัง และเฉียบขาด ไม่ใช่แต่เพียงออกมาเป็นเหมือนเสือกระดาษ ต้องกําจัดการทุจริตคอรัปชั่นของเจ้าหน้าที่ที่ ปฏิบัติงานในการปราบปรามยาเสพติด(ยาบ้า) มีการจัดการอบรมให้ความรู้ต่อประชาชนในแต่ละชุมชน เพื่อให้ รู้ถึงผลรายที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด(ยาบ้า)ไม่ว่าจะเป็นผู้ค้า หรือเป็นผู้ขาย ซึ่งเมื่อมีการให้ความรู้ที่เป็น ประโยชน์แล้วจะทําให้ประชาชนได้เป็นบุคลากรที่ช่วยกันป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด(ยาบ้า)ได้เป็น อย่างดี และประกอบกับเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานต้องมีการฝึกอบรมให้เกิดความรู้และมีความคล่องตัวในการ ปฏิบัติงานในการปฏิบัติงานในการปราบปรามยาเสพติด(ยาบ้า) และภาครัฐต้องมีการกําหนดนโยบายและการ วางแผนที่ดี ตลอดจนยุทธศาสตร์ในการปราบปรามการแพร่ระบาดยาเสพติด(ยาบ้า) ที่จริงจังและเด็ดขาด มี การสนับสนุนงบประมาณที่ดีตลอดการสนับสนุนให้ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยและสามารถมีความล้ําหน้ามากกว่า ผู้กระทําความผิด

Article Details

บท
Academic Article

References

เดชา สังขวรรณและคณะ.(2557).รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการ “การวิเคราะห์ นโยบาย มาตรการและองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในประเทศไทย”. สืบค้น 15 สิงหาคม 2557 จาก http://nctc.oncb.go.th/new//attachfiles/research/53_analysis_drugs.pdf

โดมธราดล อนันตสาน.(2557).รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ความคิดเห็นเกี่ยวกับข้าราชการครูกับนโยบาย แนวทางการป้องกันการติดยาเสพติดตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษาเพชรพิทยาคม จังหวัดเพชรบรูณ์.สืบค้น 15 สิงหาคม 2557 จาก http://research.pcru.ac.th/rdb/pro_data/files/5501046.pdf

พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2552. มาตรา 4 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 20) พ.ศ.2558 มาตรา 4 มณีรัตน์ ภัทรจินดาและคนอื่นๆ. การศึกษาการได้รับสื่อในการรณรงค์การป้องกันยาเสพติดของประชาชน จังหวัดขอนแก่น: กรณีศึกษากลุ่มนักศึกษาระดับอุดมศึกษา.งานวิจัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น. พฤศจิกายน 2539 – เมษายน 2540 ปริมา อภิโชติกร.(2551).

อิทธิพลของสื่อลามกที่มีต่อพฤติกรรมทางเพศของนักศึกษากลุ่มอาชีวศึกษา จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต , มหาวิทยาลัยแม่โจ้เชียงใหม่

มานพ คณะโต.(2552).การศึกษาวิจัยนโยบายการควบคุมตัวยาและผู้ค้ายาเสพติดในส่วนภูมิภาค กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล.สืบค้น 15 สิงหาคม 2557. จาก http://nctc.oncb.go.th/new//attachfiles/research/52_Drug_Control.pdf