เศรษฐกิจการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์กับการพัฒนาประเทศ
Main Article Content
บทคัดย่อ
ประเทศไทยต้องการได้รับประโยชน์จากการค้าระหว่าง ประเทศและการลงทุนจากต่างประเทศอย่างเต็มที่ผู้กำหนดนโยบายของประเทศไทย ควรพิจารณาปรับลดกฎเกณฑ์และมาตรการกีดกันทางการค้าและการลงทุนที่เคยเป็น อุปสรรค เพื่อเปิดรับการนำเข้าสินค้าและบริการสร้างสรรค์และการลงทุนจากต่าง ประเทศ ที่จะมีส่วนช่วยให้เกิดการต่อยอดทางความคิดเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าสร้างสรรค์ ไทยและยังช่วยกระตุ้นให้เกิดการแข่งขันและสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจของอุตสาหกรรม ไทย นอกจากนี้ผู้กำหนดนโยบายของประเทศไทย ยังควรพิจารณาถึงมาตรการ สนับสนุนที่ช่วยส่งเสริมให้อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ไทยได้รับการพัฒนาและสามารถ แข่งขันได้ในตลาดโลกการใช้ความคิด (ideas) ทั้งความคิดเดิมหรือใหม่ ในการสร้างความคิดใหม่ๆ โดยความคิดนี้เริ่มต้นจาก จินตนาการและพรสวรรค์ ของปัจเจกบุคคลการพัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานของการสร้าง และใช้องค์ความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และ ทรัพย์สินทางปัญญา ที่เชื่อมโยงกับพื้นฐานทาง วัฒนธรรม การสั่งสมความรู้ของสังคม เทคโนโลยี และนวัตกรรม ในการผลิตสินค้าและบริการใหม่ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ
Article Details
References
พัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. วารสารบริการและการท่องเที่ยวไทย. ปีที่ 8 ฉบับที่ 2.
ดวงพร อ่อนหวาน และคณะ. (2556). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ แผนงานสร้างความ เข้มแข็ง
ให้ชุมชนบนพื้นที่สูงโดยใช้การท่องเที่ยวโดยชุมชนเป็นเครื่องมือ กรณีศึกษา อาเภอ
กัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่. ชุดโครการสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนบนพื้นที่ สูงโดย
การท่องเที่ยวโดยชุมชนเป็นเครื่องมือ กรณีศึกษา อาเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัด
เชียงใหม่. สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ(วช.) และ สานักงานกองทุนสนับสนุน
การวิจัย (สกว.).
ธีระ สินเดชารักษ์ และ นาฬิก อติภัค. (2555). การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์: การรับรู้ของ
นักท่องเที่ยวความพร้อมของเจ้าของกิจกรรม และความเป็นไปได้ของการท่องเที่ยว
เชิงสร้างสรรค์ในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2557 :
htpp://www.dasta.or.th.
นา ิกอติภัค แสงสนิท.(2552).การพัฒนาพิเศษเพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน. สืบค้นวันที่ 27
พฤษภาคม 2557 : http://www.dasta.or.th
บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2548). การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร: บริษัท
เพรส แอนด์ ดีไซน์.
เพ็ญนิภา พูลสวัสดิ์. (2551). การศึกษาการจัดกิจกรรมนันทนาการการท่องเที่ยวโดยชุมชน:
กรณีศึกษาเกาะยาวน้อย จังหวัดพังงา. วิทยานิพนธ์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. (2555).สรุปสัมมนาวิชาการ
“ก้าวสาคัญสู่การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในประเทศไทย” วันที่19 มีนาคม 2555. สืบค้น
เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2557 : htpp://www.dasta.or.th
อรอุมา เตพละสกุล และ นาฬิก อติภัค. (2555). การสร้างและธารงรักษาความยั่งยืนของ ชุมชน
ผ่านท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์: กรณีประเทศไทย. สืบค้นวันที่ 27 พฤษภาคม 2557 :
htpp://www.dasta.or.th. วันที่ 27 พฤษภาคม 2557
Suttipisan,S. (2013). Adaptive Uses of Local Textiles for Creative Tourism Product
Development in Thailand. International Journal of Cultural and Tourism
Research, 6(1), 47-55.