การเรียนการสอนออนไลน์ :การวัดและประเมินผล การเรียนรู้ของผู้เรียน

Main Article Content

พรทิวา จุลสุคนธ์
ชัษษพณขิ์ จันวงค์เดือน

บทคัดย่อ

การเรียนการสอนในปัจจุบันปรับจากแบบปกติเป็นรูปแบบออนไลน์ทั้งหมด ถึงแม้การเรียนการสอนจะจัดในรูปแบบใด จำเป็นต้องมีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ บทความวิชาการนี้ จึงกำหนดหัวข้อ “การเรียนการสอนออนไลน์ : การวัดและประเมินผล การเรียนรู้ของผู้เรียน”โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอองค์ความรู้ใหม่ จากวิเคราะห์ สังเคราะห์เกี่ยวกับการเรียนการสอนออนไลน์ และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน จากเอกสารทางวิชาการ และเสนอด้วย การวิเคราะห์เนื้อหา ได้ข้อค้นพบว่า การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนแบบการเรียนการสอนออนไลน์ ประกอบด้วย 5 ส่วน ได้แก่ ผู้สอน ผู้เรียน เนื้อหา การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และเครื่องมือการสื่อสารออนไลน์ โดยแต่ละส่วนมีรายละเอียดการปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมชัดเจน

Article Details

บท
Articles
Author Biography

ชัษษพณขิ์ จันวงค์เดือน, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

Mahaculalongkornrajavidyalaya University

References

เกียงศักดิ์ พราวศรี. (2544). การจัดระบบสารสนเทศในการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน

เพื่อการประกัน คุณภาพการศึกษา. กรุงเทพฯ: บุ๊คพอยท์.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.

กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย

ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2553). สอนประวัติศาสตร์ให้เด็กมีความสุข สนุกคิด พิมพ์ครั้งที่ 2.

นนทบุรี : สหมิตรพริ้น ติ้งแอนด์พับลิสซิ่ง.

ฐาปนีย์ ธรรมเมธา. (2557). อีเลิร์นนิง : จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ E-Learning : From

theory to practice. นนทบุรี: สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับบิสชิ่ง.

ถนอมพร (ตันพิพัฒน์) เลาหจรัสแสง. (2545). Designing e-Learning: หลักการออกแบบ

และการสร้างเว็บ เพื่อการเรียนการสอน. เชียงใหม่ : พิมพ์ลักษณ์.

วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล. (2563). จากการเรียนรู้ออนไลน์สู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม.

กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สมชาย วรกิจเกษมสกุล. (2556). การวัดและประเมินผลการศึกษา พิมพ์ครั้งที่ 5. อุดรธานี :

อักษรศิลป์.

อมรเทพ เทพวิชิต. (2552). คู่มือการใช้ Moodle. นครราชสีมา: ศูนย์นวัตกรรมและ

เทคโนโลยีการศึกษา มทส.

โอภาส เกาไศยาภรณ์, วสันต์ อติศัพท์ และอนุชิต งามขจรวิวัฒน์. (2560). การออกแบบการ

เรียนการสอนเลิร์นนิ่ง : รายการตรวจสอบ. กรุงเทพฯ: นีโอพ้อยท์.

อาณัติ รัตนถิรกุล. (2553). สร้างระบบ E-Learning ด้วย Moodle ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ:

เอช.เอ็น.กรุ๊ป.

Odd, A. (1994). Classroom applications of educational measurement. New

York: Macmillan.

Wolansky, W. D. (1985). Evaluation student performance in vocational

education. Ames. IW: Iowa State University Press, 1985.