ภูมิปัญญาพื้นบ้านกับการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยโรคติดสุรา
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอภูมิปัญญาพื้นบ้านในการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยโรคติดสุราซึ่งเป็นความรู้ความเชื่อ ที่เกิดจากการสั่งสมประสบการณ์ของปราชญ์ชาวบ้านที่ให้คุณค่าต่อดุลยภาพและสุขภาพองค์รวมในการจัดการปัญหาสุขภาพเป็นการ บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นกับภูมิปัญญาสากลในการบำบัดเยียวยาผู้ที่เป็นโรคติดสุรา โดยใช้กลวิธีการลดเลิกสุรา 3 วิธีหลัก ได้แก่ 1) สมุนไพร: ถอนพิษสุรา ปรับสมดุลธาตุ 2) อาหาร: ถอนพิษสุรา บำรุงร่างกาย และ 3) ศรัทธา: การใช้ศรัทธาในพุทธศาสนาเป็นสื่อกลาง
Article Details
References
กนกวรรณ จังอินทร์, สมเดช พินิจสุนทร.(2560).พฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอล์และ
ผลกระทบต่อครอบครัว ของผู้ดื่มแอลกอฮอล์ที่เข้าบำบัดในโรงพยาบาลธัญญารักษ์
อุดรธานี.วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิทยาลัยขอนแก่น,5(3).
คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.รอบรู้เรื่องสุขภาพจิตผู้ใหญ่/ติดเหล้า.สืบค้น
จาก http://www.cumentalhealth.com/ วันที่15 มีนาคม 2563.
คณะอนุกรรมการพิจารณาด้านการบำบัดรักษาฟื้นฟูสภาพผู้ติดเครื่องดื่มแอลกอฮอลล์.
(2561).แนวปฏิบัติการคัดกรองและบำบัดรักษาฟื้นฟูสภาพผู้มีปัญหาการดื่มสุรา.
นนทบุรี: อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์
พระครูปริยัติปัญญารัตน์, พระโสภณพัฒนบัณฑิต และสุวิน ทองปั้น.(2560). ศึกษาการ
ประยุกต์ใช้กิจกรรมที่สอดคล้องกับหลักพุทธธรรมเพื่อบำบัดผู้ติดสุราในจังหวัด
ขอนแก่น.วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 17(3).
มัทนา พฤกษะริตานนท์.(2555). ทิศทางการพัฒนาคุณภาพสุราชุมชน.กรุงเทพฯ :
กรมสรรพสามิต.เอกสารสำเนา.
โรงพยาบาลจิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร์.สืบค้นจาก https://www.jvkorat.go.th
วันที่15 มีนาคม 2563.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2561). การสำรวจ
พฤติกรรมการสูบบุหรี่และการดื่มสุราของประชากร พ.ศ. 2560. กรุงเทพฯ: พิมพ์
ดีการพิมพ์.
สำนักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน (สำนัก 3) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
(สสส.). สืบค้นจาก https://thaihealthycommunity.org/วันที่15 มีนาคม 2563.
อรัญญา สาลี และเสาวคนธ์ วีระศิริ. (2563).การปรับตัวของครอบครัวที่มีบุคคลติดสุรา:
การศึกษาหลายกรณี. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 38(2).