การบำบัดโรคซึมเศร้าด้วยการเจริญสติ
Main Article Content
บทคัดย่อ
ภาวะซึมเศร้าเป็นความผิดปกติทางอารมณ์ โดยแสดงออกให้เห็นถึงอารมณ์ซึมเศร้า สาเหตุที่ทำให้มีภาวะซึมเศร้า คือ ทางด้านสังคม ความเครียด และความผิดหวัง ตามแนววิถีพุทธมีความเชื่อว่าภาวะซึมเศร้าเป็นความรู้สึกที่เกิดจากความคิดฟุ้งซ่านที่ไม่มีสติในการควบคุมระวังความคิด เมื่อไม่มีแนวทางในการดับความคิดหรือความทุกข์นั้นทำให้จิตตกจนเกิดภาวะซึมเศร้าได้ วิธีการป้องกันภาวะซึมเศร้าจึงต้องประยุกต์การเจริญสติกับผู้มีภาวะซึมเศร้าโดยวิธีการเจริญสติจะทำให้มีสติสัมปชัญญะ สามารถแก้ไขปัญหา ความเศร้าโศกก็จะหมดไป ทำให้ไม่มีภาวะซึมเศร้า ซึ่งถ้ามีการเจริญสติอย่างต่อเนื่อง ก็จะส่งผลต่อชีวิตที่ดีขึ้น สุขภาพดีขึ้น และมีความสุขมากขึ้น
Article Details
References
กรุงเทพธุรกิจ (2564). ช่วงปี 63 อัตราฆ่าตัวตายสำเร็จของคนไทยไต่ระดับขึ้น (เข้าถึงได้ที่:
https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/920755 , 24 สิงหาคม 2564)
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.(2564). (เข้าถึงได้ที่: https://www.dmh.go.th,
กุมภาพันธ์ 2564) คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล.
(2564). (เข้าถึงได้ที่:
https://med.mahidol.ac.th/ramamental/generalknowledge/general/090
-1017, 24 สิงหาคม 2564)
มาโนช หล่อตระกูล และปราโมทย์ สุคนิชย์, บรรณาธิการ. (2558). จิตเวชศาสตร์
รามาธิบดี.(พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ:ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์
โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล.
พจนา เปลี่ยนเกิด.(2557).โรคซึมเศร้า: บทบาทพยาบาลในการดูแลรักษา.วารสารพยาบาล
ทหารบก.15 (1) (มกราคม-เมษายน).
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต). (2553). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์.
(พิมพ์ครั้งที่ 14). กรุงเทพฯ: มูลนิธิการศึกษาเพื่อสันติภาพ.
แพทย์พงษ์ วรพงศ์พิเชษฐ.(2564). การเจริญสติบำบัด. (เข้าถึงได้ที่:https://thaicam.go.th,
สิงหาคม 2564)
สเปญ อุ่นอนงค์.(2545). โรคกลัว โรคย้ำคิดย้ำทำ และการรักษาด้วยตนเอง. กรุงเทพฯ:
ยูเนี่ยนครีเอชั่น.
สาวิตรี สิงหาด.(2559).การพยาบาลผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้า. วารสารวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.18 (3) (กันยายน – ธันวาคม)
สุวัฒน์ ธนกรนุวัฒน์ สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต และสิริวัฒน์ ศรีเครือดง.(2562).การเจริญสติใน
วิถีพุทธจิตวิทยา. วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์.5 (2) (กรกฎาคม - ธันวาคม).
อภิฤดี ใจประเสริฐ.(2564). โรคซึมเศร้า อาการ เป็นอย่างไร? ความเศร้ารุนแรงที่ต้องระวังไว้
ก่อนที่จะสายเกินไป.(เข้าถึงได้ที่: http://swis.acp.ac.th/html_edu/cgibin/acp/main_php/
print_informed.php?id_count_inform=6144, 24 สิงหาคม 2564)
Atkinson, R. C., & Shiffrin, R. M. (1968). Human memory: A proposed system
and its control processes. In K. W. Spence and J. T. Spence (eds.), The psychology of learning and motivation: Advances in research and theory. 2, 89-195
Hanson. R. (2009), Buddha’s Brain, Oakland. New Harbinger Publications.
The Asean Post (2021). Suicide: Thailand’s epidemic in a pandemic. (เข้าถึงได้
ที่: https://theaseanpost.com/article/suicide-thailands-epidemic-
pandemic, 24 สิงหาคม 2564)
World Health Organization.(2018). Adolescents: health risks and solutions.
May18, 2019. From https://www.who.int/en/news-room/fact-sheets/detail/adolescents-health-risks-and-solutions