สังคมไทยกับการพัฒนาแบบยั่งยืนตามแนวพระพุทธศาสนา
Main Article Content
บทคัดย่อ
หลักธรรมที่ใช้ ในการพัฒนา ประกอบด้วย 1) การระวังรักษาศีลมิให้ขาด 2) การเลี้ยงชีพโดยอาชีพที่สุจริต 3) การสำรวมกายใจต่อสิ่งที่ได้สัมผัส 4) ความเป็นผู้มีศีล 5 และศีล 8 5) ความเป็นผู้มีสติสัมปชัญญะ 6) การใช้ชีวิตอย่างพอเพียง เป็นแนวคิดการพัฒนาสังคมไทยแบบยั่งยืนซึ่งเป็นการพัฒนาในส่วนที่เกี่ยวกับการพัฒนาพฤติกรรม และการพัฒนาจิตใจ และพัฒนาปัญญาอย่างยั่งยืนไปด้วย
Article Details
References
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2554). “ปณิธาน วิสัยทัศน์ และพันธกิจของคณะ
มนุษยศาสตร์.” [ระบบออนไลน์].แหล่งที่มา
http://www.human.cmu.ac.th/about.php?mod=vision (13 มีนาคม 2564).
มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (2554). การประชุมวิชาการ, ขอนแก่น : หจก.โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโต). (2539). การพัฒนาที่ยั่งยืน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:
สำนักพิมพ์มูลนิธิโกมลคีมทอง.
พระธรรมปิฎก. (2546). ปฏิรูปการศึกษาการสร้างสรรค์ภูมิปัญญา. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้ง.
สฤณี อาชวานันทกุล. (2560). “เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน” กับการระบุประเด็น (ที่ควรจะ)
เร่งด่วนสำหรับไทย. สืบค้นจาก http://www.salforest.com/blog/6041
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562). ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.
-2580 (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ.
อนันตชัย ยูรประถม และคณะ. (2557). ความหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน. กรุงเทพฯ: ศูนย์พัฒนา
ความรับผิดชอบต่อสังคมตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.
Klarin, Tomislav. (2018). The concept of sustainable development: From its
beginning to the contemporary issues. Zagreb International Review of Economics & Business, 21(1), 67-94.