หลักการและทฤษฎีเกี่ยวกับวิธีการเรียนรู้แบบอริยสัจ 4
Main Article Content
บทคัดย่อ
หลักการหรือสาระสำคัญของวิธีการเรียนรู้แบบอริยสัจ 4 เป็นการเริ่มต้นจากปัญหาหรือความทุกข์ที่ประสบโดยกำหนดรู้ทำความเข้าใจกับปัญหาหรือความทุกข์ที่ประสบนั้นให้ชัดเจน แล้วสืบค้นหาสาเหตุ วางแผนการปฏิบัติที่จะกําจัดสาเหตุของปัญหา โดยสอดคล้องกับการที่จะบรรลุจุดหมายที่กำหนดไว้ ซึ่งการใช้หลักการและทฤษฎีการเรียนรู้แบบอริยสัจ 4 มาใช้ในกระบวนการจัดการเรียนการสอนเพื่อปลูกฝังให้ผู้เรียนเป็นนักแก้ปัญหาที่ดี โดยเน้นให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติค้นคว้าด้วยตนเอง หาสาเหตุของปัญหา และวิธีการแก้ปัญหา สามารถเชื่อมโยงความรู้เป็นลำดับขั้นตอนอีกทั้งยังสามารถสอดแทรกด้านคุณธรรมจริยธรรมให้กับผู้เรียนได้ด้วย
Article Details
References
กรมการศาสนา, กระทรวงวัฒนธรรม. (2551). จดหมายเหตุการสาธยายพระไตรปิฎก :เฉลิมพระ
เกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว.กรุงเทพฯ:ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
พนม พงษ์ไพบูลย์ และคณะ. (2528). สาโรช บัวศรีกับศึกษาศาสตร์ตามแนวพุทธศาสตร์.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์รุ่งเรืองสาส์นการพิมพ์.
พระเทพวิสุทธิเมธี (ปัญญานันทภิกขุ). (มปป.) อริยสัจจ์ ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ.
กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ธรรมสภา
พระธรรมปิฏก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2538). พุทธธรรม (ฉบับปรับปรุงและขยายความ). กรุงเทพฯ:
มหาจุฬาลงกรณีราชวิทยาลัย.
_______. (2544). พุทธวิธีการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์บริษัทสหธรรมิก จํากัด.
พจนานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ.2530. (2531). กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช.
พระราชวรมุนี (2526) พุทธธรรม กฎธรรมชาติและคุณค่าสำหรับชีวิต. พิมพ์ครั้งที่ 5 กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ์รุ่งวัฒนา
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2549). พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ. พิมพ์ครั้งที่
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์บริษัท สหธรรมิก จำกัด.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต). (2556). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม.
(พิมพ์ครั้งที่ 24), กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์พระพุทธศาสนาของธรรมสภา.
วิภาพรรณ พินลาและวิภาดา พินลา. (2563). สังคมศึกษากับการพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง
กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542
และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553. กรุงเทพฯ : สำนักนายกรัฐมนตรี.