ชุมชนเข้มแข็งทางเลือกใหม่สู่การพัฒนาทางการเมือง

Main Article Content

ศราวุธ ขันธวิชัย
พระสิริชัย ธมฺมจาโร (สายสิงห์)
พระสังวาน เขมปญฺโญ (สายเนตร)
สมนึก จันทร์โสดา

บทคัดย่อ

การใช้หลักธรรมในการพัฒนาจัดการชุมชนเข้มแข็งเป็นเป้าหมายของการพัฒนาเพราะเป็นรากฐานของความสำเร็จในทุกๆ ด้าน หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาได้ให้ความสำคัญเพราะเป็นประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ของสังคม ในขณะที่วัฒนธรรมประเพณี ภาษาท้องถิ่น สิ่งเหล่านี้กำลังจะเลือนหายไปกับกระแสโลกาภิวัตน์ การจัดการชุมชนเข้มแข็งตามแนววิถีพุทธกลับมามีความเข้มแข็งทุกคนตระหนักในหน้าที่ที่ต้องรักษาหวงแหน บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอกรอบแนวคิดการพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็งเพื่อเป็นทางเลือกใหม่สู่การพัฒนาทางการเมือง ผลการศึกษาพบว่า การพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็งเพื่อเป็นทางเลือกใหม่สู่การพัฒนาทางการเมือง ประกอบด้วย 1) แนวคิดและความสำคัญของชุมชุนเข้มแข็ง 2) องค์ประกอบของชุมชนเข้มแข็ง 3) ชุมชนเข้มแข็งสู่หลักประชาธิปไตยและ 4) กระบวนการจัดองค์ความรู้อย่างเป็นขั้นเป็นตอนมีเครือข่ายการเรียนรู้ ดังนั้นการบริหารจัดการชุมชนเข้มแข็ง ด้วยการส่งเสริมการรวมตัวเรียนรู้ ร่วมคิด ร่วมทำ และกิจกรรมสม่ำเสมอเชื่อมโยงกับการทำมาหาเลี้ยงชีพระดับปัจเจก และความพออยู่พอกินเป็นลำดับแรกก่อนที่จะเชื่อมต่อกับสังคมภายนอก มีกระบวนการจัดการองค์ความรู้ เกิดเครือข่ายการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอก แนวทางการส่งเสริมการรวมตัวของคนในชุมชนทำกิจกรรมเพื่อประโยชน์ของชุมชน โดยเสริมหนุนให้ชุมชนมีขีดความสามารถในการรวมตัวกัน ในรูปแบบที่หลากหลายที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ หรือการรวมตัวกันของชุมชนในเชิงพื้นที่หรือประเด็นความสนใจ

Article Details

บท
Articles
Author Biographies

พระสิริชัย ธมฺมจาโร (สายสิงห์), มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

Mahaculalongkornrajavidyalaya University

พระสังวาน เขมปญฺโญ (สายเนตร) , มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

Mahaculalongkornrajavidyalaya University

สมนึก จันทร์โสดา, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

Mahaculalongkornrajavidyalaya University

References

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์, (2544), ชุมชนนิยม:ฝ่าวิกฤตชุมชนล่มสลาย. กรุงเทพฯ: ซัคเซสมีเดีย,

กรมการพัฒนาชุมชน. (2560). แนวทางการดำเนินงาน นโยบายสานพลังประชารัฐในการขับเคลื่อน

การพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก. (ออนไลน์), เข้าถึงได้จาก http://chumchon.cdd.go.th. (1 ตุลาคม 2560).

กรมการพัฒนาชุมชน. (2560). แนวทางการดำเนินงาน นโยบายสานพลังประชารัฐในการขับเคลื่อน

การพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก. (ออนไลน์), เข้าถึงได้จาก http://chumchon.cdd.go.th. (1 ตุลาคม 2565).

กลุ่มงานผลิตเอกสารสำนักประชาสัมพันธ์, (2561), “การมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบ

ประชาธิปไตย”, สำนักการพิมพ์.

จันทนา อินทฉิม, (2020). การจัดการชุมชนเข้มแข็ง ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง :

กรณีศึกษาศูนย์การเรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตำบลบางปลา อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ, Journal of Administrative and Management Innovation. Vol.8 No.3 September - December

ทานตะวัน อินทร์จันทร์, (2546). “การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการชุมชนในการพัฒนาชุมชนย่อย

ในเขตเทศบาลเมืองลำพูน”, บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ทศพล สมพงษ์. (2555). ประชาธิปไตยชุมชน จากแนวคิดสู่การจัดการ. กรุงเทพฯ: สำนักงานสภา

พัฒนาการเมือง สถาบันพระปกเกล้า

ทวีศักดิ์ นพเกสร. (2542). วิกฤตสังคมไทย 2540 กับบทบาทวิทยากรกระบวนการ เล่มที่ 2.

กรุงเทพฯ :สํานักงานกองทุนเพื่อสังคม ธนาคารออมสิน.

ประเวศ วะสี, (2553), อ้างถึงใน โกวิทย์ พวงงาม, การจัดการตนเองของชุมชนและท้องถิ่น

กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์.

พระบุญโชค กิตฺติสาโร (คำภีระ), (2555). “ประสิทธิผลการบริหารการพัฒนาชุมชนขององค์การ

บริหารส่วนตำบล เขาวง อำเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี” บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระบุญโชค กิตฺติสาโร (คำภีระ), (2555). “ประสิทธิผลการบริหารการพัฒนาชุมชนขององค์การ

บริหารส่วนตำบล เขาวง อำเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี” บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สุวัฒน์ คงแป้น และคณะ. (2557). ชุมชนเข้มแข็ง ประเทศมั่นคง. กรุงเทพฯ: สำนักการพิมพ์

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, (2544), กรุงเทพฯ: สำนักงาน.

สุวัฒน์ คงแป้น และคณะ. (2557). ชุมชนเข้มแข็ง ประเทศมั่นคง. กรุงเทพฯ: สำนักการพิมพ์

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

อุทัย ดุลเกษม และอรศรี งามวิทยาพงษ์. (2547), ชุมชนเข้ม: แข็งหนทางสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน.

วารสารเศรษฐกิจและสังคม, 3 (กรกฎาคม-กันยายน) 35.

Almond and Coleman, op, cit: Samuel N. Eisenstadt, (1962) “Political

Modernization in Russia and Chaina” in Unity and Contradiction, ed. By Kurt London Yok: Praeger, , pp. 3-18.