ความต้องการจำเป็นในการบริหารงานกิจการนักเรียนโรงเรียน สังกัดเทศบาลตำบลปลายบาง จังหวัดนนทบุรี ตามแนวคิดการสร้างวินัยเชิงบวก

Main Article Content

ธวาทิตย์ ทองทับ
ธีรภัทร กุโลภาส

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการบริหารงานกิจการนักเรียนโรงเรียนสังกัดเทศบาลตำบลปลายบาง จังหวัดนนทบุรี ตามแนวคิดการสร้างวินัยเชิงบวก ผู้ให้ข้อมูลในการวิจัย ประกอบด้วย ผู้อำนวยการสถานศึกษา รองผู้อำนวยการสถานศึกษาและครูผู้สอน โรงเรียนสังกัดเทศบาลตำบลปลายบาง จังหวัดนนทบุรี รวมทั้งสิ้น 115 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม โดยสถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีความต้องการจำเป็น ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารกิจการนักเรียนโรงเรียนสังกัดเทศบาลตำบลปลายบาง จังหวัดนนทบุรี ตามแนวคิดการสร้างวินัยเชิงบวกในภาพรวมอยู่ในระดับมากและมากที่สุด ตามลำดับ โดยด้านที่มีความต้องการจำเป็นมากที่สุด คือ ด้านการการแก้ปัญหา มีความต้องการจำเป็นสูงสุด รองลงมา คือ ด้านความร่วมมือและด้านที่มีความต้องการจำเป็นน้อยสุด คือ ด้านการเคารพตนเองและผู้อื่น


 

Article Details

บท
Research Articles
Author Biography

ธีรภัทร กุโลภาส, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Chulalongkorn University

References

กาญจนา ศรีกาฬสินธุ์. (2531). การบริหารกิจการนักเรียน. พิมพ์ครั้งที่ 2. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร

กาญจนา พวงจิตต์. (2550). การวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นของผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อส่งเสริมวินัยของนักเรียน : พหุกรณีศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษาในกรุงเทพมหานคร. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร

กุสินา รอดทอง (2561). การบริหารงานกิจการนักเรียนของโรงเรียนในสังกัดเทศบาลนครสุราษฎร์

ธานี. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย :มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี.

เกียรติศักดิ์ ศรีทอง. (2557). การศึกษาการดําเนินงานระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนโรงเรียนในอําเภอเกาะสมุย เครือขายสมุย 1 สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎรธานี เขต 1. บัณฑิตวิทยาลัย :มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี.

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2561). แผนพัฒนาการศึกษาท้องถิ่นของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: กระทรวงมหาดไทย.

กองการศึกษา เทศบาลตำบลปลายบาง (2561) แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี 2561-2565 นนทบุรี: เทศบาลตำบลปลายบาง

ภิญโญ สาธร. (2523). การบริหารการศึกษา. ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ดำรง ประเสริฐกุล. (2542). การบริหารกิจการนักเรียน. คณะครุศาสตร์; สถาบันราชภัฏพิบูล

สงคราม

สันติ นิลหมื่นไวย์. (2546). การพัฒนาการปฏิบัติงานส่งเสริมให้นักเรียนมีวินัยโรงเรียนหนอง

บัวพิทยาคาร อำเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลำภู. บัณฑิตวิทยาลัย :มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

สำนักงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน.(2549). แนวทางการดำเนินระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนสำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2547). แนวทางการดําเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์รับสินค้าและพัสดุครุภณฑ์

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน

สมพิศ โห้งาม. (2550). การจัดการและการบริหารงานกิจการนักเรียน. ตําราวิชาบริหาร

การศึกษาและอุดมศึกษา. คณะศึกษาศาสตร์ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2556). หลักการและแนวทางในการดำเนินงานสภานักเรียน.

โรงเรียนเทศบาลปลายบางวัดโบสถ์ กลุ่มบริหารงานวิชาการ. (2561) รายงานประเมินตนเอง

ของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2562. นนทบุรี: โรงเรียนเทศบาลปลายบบางวัดโบสถ์

เอกชัย กี่สุขพันธ์. (2552). เอกสารประกอบการสอนวิชาทฤษฎีบริหารการศึกษา [เอกสารอัด

สำเนา]. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Brown, M. D. (2000). Science or soccer? -- how important are extracurricular activities? Retrieved

Durrant, J. E. (2010). Positive discipline in everyday teaching: Guidelines for educators. Save the Children. Retrieved September, 10, 2013.

Elias, M. J., & Arnold, H. (2006). The educator's guide to emotional intelligence and academic achievement: Social-emotional learning in the classroom. SAGE.

Nelsen, J. (1999). Positive time-out: And over 50 ways to avoid power struggles in the home and the classroom. New York, NY: Three Rivers Press

Nelsen, J., Erwin, C., & Duffy, R. A. (2019). Positive Discipline for Preschoolers, Revised 4th Edition: For Their Early Years--Raising Children Who Are Responsible, Respectful, and Resourceful: Harmony.

RAPCAN (2008) Banning corporal punishment the South African experience Resources Aimed at the Prevention of Child Abuse and Neglect

Thakur, K. (2017). Fostering a positive environment in schools using positive discipline. Indian Journal of Positive Psychology, 8(3), 315-319.

UNESCO, B. (2006). Positive discipline in the inclusive, learning-friendly classroom: A guide for teachers and teacher educators. In: UNESCO Asia and Pacific Regional Bureau for Education Bangkok.