แนวทางการปรับตัวอุตสาหกรรมการบิน ในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้จึงเป็นการนำเสนอสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด19 เป็นโรคติดต่ออุบัติใหม่ซึ่งเกิดจากไวรัสโคโรนาชนิดที่มีการค้นพบล่าสุด โดยไวรัสและโรคอุบัติใหม่ชนิดนี้ไม่เป็นที่รู้จักเลยก่อนที่จะมีการระบาดในประเทศจีน เมื่อช่วงเดือนธันวาคมปี ค.ศ.2019 ขณะนี้โรคโควิด 19 มีการระบาดใหญ่เป็นวงกว้างจนส่งผลกระทบเป็นอย่างมากในด้านสาธารณสุขและเศรษฐกิจของแทบทุกประเทศทั่วโลกจนถึงปัจจุบัน ได้สะท้อนการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญในเรื่องพฤติกรรมมนุษย์ ซึ่งรับผลกระทบอย่างรวดเร็ว และรุนแรงโดยเฉพาะอุตสาหกรรมการบิน ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมที่สำคัญเป็นตัวช่วยในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและ ช่วยทำให้การเดินทางสะดวก รวดเร็วมากยิ่งขึ้น จากการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ทำให้อุตสาหกรรมการบินทั่วโลกต้องหยุดชะงัก และมีผลกระทบกับอุตสาหกรรมการบินไปยังวงกว้าง ทำให้หลายๆสายการบิน ทั่วโลกมีการลดต้นทุนลดจำนวนพนักงาน มีการปลดพนักงานออกเป็นจำนวนมาก และค่อยๆกลับมาในช่วงปี 2566 สังเกตได้จากมีจำนวนเที่ยวบินเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากจำนวนนักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้นด้วย
ดังนั้นการศึกษาวิเคราะห์แนวทางการปรับตัวของอุตสาหกรรมการบิน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 รวมไปถึงการวิเคราะห์แนวโน้มความน่าจะเป็นของอุตสาหกรรมการบินโลก และในประเทศไทย เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับอุตสาหกรรมการบินในรูปแบบ New Normal การปรับตัวรูปแบบใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการหารายได้ในรูปแบบอื่นๆ ที่สายการบินสามารถทำไปควบคู่กับการทำการบินได้ เพื่อความอยู่รอดของสายการบิน ซึ่งจะทำให้การใช้บริการสายการบินเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ซึ่งแน่นอนว่าจะส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมการบินอย่างแน่นอน
Article Details
References
กรมควบคุมโรค. (2564). โควิด 19. สืบค้นเมื่อ 27 ธันวาคม 2565, จาก https://ddc.moph.go.th/covid19-dashboard/
ชลาทิพย์. (2566). 4 ความเสี่ยงของอุตสาหกรรมการบินทั่วโลก. สืบค้นเมื่อ 18 มกราคม 2566, จาก https:// workpointtoday.com/risk-of-airlines-industry/
เชื้อไวรัสโควิด-19 (COVID-19). สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2566, จาก https://so02.tcithaijo.org/index.php/ bruj/article/view/246656
บริษัทท่าอากาศยานไทย จำกัด(มหาชน). สืบค้นเมื่อ 18 มกราคม 2566, https://www.airportthai.co.th/
ทักษิณา แสนเย็นและคณะ. (2563). บทวิเคราะห์การรับมือโรคโควิด-19: ผลกระทบต่อ อุตสาหกรรมการบิน บทความนี้ได้ข้อค้นพบว่าผลกระทบของโควิด-19 ต่ออุตสาหกรรม การบิน. สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม2566. จาก Journal of Multidisciplinary in Humanities and Social Sciences Vol. 3 No. 2 (May – August 2020)
ไทยพีบีเอส. (2564).
สายพันธ์โควิด. สืบค้นเมื่อ 27 ธันวาคม 2565, จาก https://news.thaipbs.or.th/
แนวโน้มสถานการณ์โควิด-19. (2564). สืบค้นเมื่อ 27 ธันวาคม 2565 ,จาก https://mthai.com/news/covid-19/199313.html.
ราชบัณฑิตยสถาน. (ม.ป.ป.). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554. สืบค้นเมื่อ 27 ธันวาคม 2565,จาก https://dictionary.orst.go.th/.
รายงานสถิติการขนส่งทางอากาศ. สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2566,https://www.caat.or.th/th/archives/68488
รัชตะ จันทร์พาณิชย์. (2564). ผลกระทบและการปรับตัวของธุรกิจการบินจากสถานการณ์ การ แพร่ระบาดของสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2566, จาก https://www.caat.or.th/wp-
content/uploads/2022/07/CAAT-News-14-2565
สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย.(2563). แนวทางการให้บริการผู้โดยสารในเส้นทาง การ บินภายใน ประเทศระหว่างสถานการณ์ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019. สืบค้นจากhttps://www.airports.go.th/th/content/11401/3896.html (COVID-19)
อาริยา สุขโต. (2563). วิกฤตโควิด-19 กับการปรับตัวของธุรกิจการบิน.สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2566, จาก https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/ewt_dl_link. php?nid=75782&filename=index
CNN Travel (2565). This solar-powered plane could stay in the air for months. สืบค้น เมื่อ 3 มกราคม 2566, จาก https://edition.cnn.com/travel/article
Insight. สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2566, จากhttps://www.bangkokbignews/detail/900685.
ICAO. (2563). สืบค้นเมื่อ 18 มกราคม 2566, https://www.icao.int/covid/cart/Pages/CART-Take-off.aspx NOPHAWHAN. (2563). สาย การบินปรับตัวขนส่งสินค้าดันเที่ยวบินคาร์โก 6 สนามบินหลัก. The Bangkok
WHO.(2021). Coronavirus disease (COVID-19). Form https://www.who.int
/emergencies/diseases/novel-coronavirus-2019