คุณภาพบริการของเฟซบุ๊กที่มีผลต่อความพึงพอใจและการตั้งใจ ใช้อย่างยั่งยืนของผู้ใช้
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์วิจัยเพื่อศึกษาอิทธิพลของคุณภาพบริการเฟซบุ๊กที่มีผลต่อความพึงพอใจและการตั้งใจใช้อย่างยั่งยืนของผู้ใช้ โดยผู้วิจัยใช้แบบสอบถามไปรวบรวมความเห็นของกลุ่มตัวอย่างของประชาชนที่มีประสบการณ์ในการใช้เฟซบุ๊กในเขตจังหวัดอุบลราชธานีจำนวน 440 คนแล้วนำกลับมาวิเคราะห์ผลด้วยสถิติวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลวิจัยพบว่า คุณภาพปฏิสัมพันธ์และคุณภาพผลลัพธ์มีอิทธิพลต่อการพยากรณ์ความพึงพอใจที่ร้อยละ 58 และมีอิทธิพลพยากรณ์การตั้งใจใช้อย่างยั่งยืนที่ร้อยละ 62
Article Details
References
กัญญ์สิริ จันทร์เจริญ. (2554). บทที่ 5 การกำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง, https://www.ict.up.ac.th/surinthips/ResearchMethodology_2554....PDF
กรุงเทพธุรกิจ. (2565). ข้อมูลล่าสุด สถิติการใช้ดิจิทัลในไทย จากรายงาน we are social, https://www.bangkokbiznews.com/columnist/989552
จักรพงษ์ แผ่นทอง. (2020). ตรวจสอบการแจกแจงปกติ SPSS ด้วยโคลโมโกรอฟ-สมีนอฟ, https://krujakkrapong.com.
ชยชนก จันทวง ศ์. (2020). ความพึงพอใจต่อกลยุทธ์การสื่อสาร Facebook page สำนักประชาสัมพันธ์เขต 1 กรมประชาสัมพันธ์, NMCCON, 346-356.
ณฐภัทร ลิ้มวานิชตระกูล. (2560). การเปิดรับและความพึงพอใจที่มีต่อ Facebook แฟนเพจ All New Isuzu D-Max ของศูนย์อีซูซุ, การค้นคว้าอิสระ, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ตฤณธวัช วงษ์ประเสริฐ และกุลทิพย์ ศาสตระรุจิ. (2559). ทัศนคติและพฤติกรรมการใช้งาน Facebook ของวัยทำงานในกรุงเทพมหานคร, วารสารนิเทศศาสตร์และนวัตกรรม นิด้า, 3(2), 29-46.
นุชนาถ ฮัดเจสสัน และไกรชิต สุตะเมือง. (2556). การรับรู้โฆษณาแฝงบนสื่อสังคมออนไลน์ Facebook ของคนวัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล, วารสารการตลาดและการสื่อสาร, 1(2), 374-391.
บุญศรี พรหมมาพันธุ์. (2561). เทคนิคการแปลผลการวิเคราะห์ข้อมูลสำหรับการใช้สหสัมพันธ์ และการถดถอยในการวิจัย, วารสารศึกษาศาสตร์ มสธ, 11(1), 32-45.
ประสพชัย พสุนนท์. (2557). ความเชื่อมั่นของแบบสอบถามในงานวิจัยเชิงปริมาณ, วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ, 27(1), 144-163.
พงษ์ศักดิ์ ซิมมอนด์ส. (2560). การทดสอบข้อตกลงเบื้องต้นของการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นตรง, วารสารวิจัยและพัฒนาหลักสูตร, 7(2), 20-37.
วงศกร ชัยรัตนะถาวร แววตา เตชาทวีวรรร และสมหมาย วรัญยานุไกร. (2557). การวิเคราะห์การใช้ Facebook ของห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย, วารสารบรรณศาสตร์, มศว., 7(1), 66-81.
วรรณวนัช ตันเรืองวงษ์. (2560). ความพึงพอใจที่มีต่อเนื้อหา Facebook live กับความจงรักภักดีต่อตราสินค้า: ศึกษากรณี Work point เอนเตอร์เทนเมนต์ แฟนเพจ, ศึกษาอิสระ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
วีระศักดิ์ จินารัตน์. (2564). ระเบียบวิธีวิจัยสมัยใหม่, พิมพ์ครั้งที่ 1; อุบลราชธานี, ยงสวัสดิ์ อินเตอร์กรุ๊ปจำกัด.
วีระศักดิ์ จินารัตน์. (2564). มาตรฐานงานวิจัยเชิงปริมาณและการพัฒนา, พิมพ์ครั้งที่ 1; อุบลราชธานี, ยงสวัสดิ์ อินเตอร์กรุ๊ปจำกัด.
ศตวรรษ จำเพียร และณัฐพล อัสสะรัตน์. (2562). อิทธิพลของคุณประโยชน์ของ Facebook แฟนเพจต่อความเชื่อมั่นและความยึดมั่นในแบรนด์; กรณีศึกษา Facebook เพจร้านอาหาร, จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์, 41(161), 133-164.
หัสพร ทองแดง พิศุทธิภา เมธีกุล สมคิด ทุมวงศ์ และแพรว สมบัติใหม่. (2559). การวิเคราะห์ข้อมูลและนำเสนอผลการวิเคราะห์สำหรับนักวิจัยพฤติกรรมศาสตร์, วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 3(2), 13-36.
Ahn, T., Ryu. S, & Han. I. (2007). The impact of web quality and playful ness on user
acceptance of online retailing. Information & Management, 44(3), 263-275.
Bano, S., Cisheng. W., Khan. A. N., & Khan. N. A. (2019). WhatsApp use and student's
psychological well-being: Role of social capital and social integration. Children and Youth Services Review, vol. 103, pp. 200-208.
Boehmer, J, & Lacy. S. (2014). Sport news on facebook: The relationship between
interactivity and readers' browsing behavior. Int. J. Sport Commun, 7, 1-15.
Brady, MK, & Cronin. J. (2001). Some new thoughts on conceptualizing perceived
service quality. A hierarchicalapproach, 65, 34-49.
Buttle, F. (1996). Review, Critique. Research Agenda, 30, 8-32.
Chotipunyo, W., & Wongpinunwatana, N. (2015). Factors affecting positive attitude and purchase intention towards transgender products via facebook social network website: case study www.facebook.com/toodsdiary, JISB, 1(1), 73-85.
Chang, C.M, Hsu. M.-H, & Lee. Y.-J. (2016). How can social networking sites help build
customer loyalty? An empirical investigation. Total Quality Management & Business Excellence, 27(1-2), 111-123.
Clemes, MD, Gan. C, & Ren. M. (2011). Synthesizing the effects of service quality,
value, and customer satisfaction on behavioral intentions in the motel industry. An empirical analysis, 35, 503-568