การพัฒนาที่ยั่งยืนตามแนวพุทธในสังคมไทย

Main Article Content

พระใบฎีกาไพจิตร รตนญาโณ
พระใบฎีกาสมศักดิ์ ฐิตคุโณ
พระสมุห์ชนินสิทธิ์ สุทฺธิจิตฺโต
พระมหาไพศาล วิสาโล
กิตติพงศ์ สุวรรณวงศ์

บทคัดย่อ

การพัฒนาที่ยั่งยืนตามแนวพุทธในสังคมไทย เข้าใจถึงความหมายของการบริหาร มีการศึกไปถึงแนวคิดการบริหาร ที่ทำให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน ความหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน และการพัฒนาที่คำนึงถึงขีดจำกัดของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการตอบสนองความต้องการในปัจจุบันโดยไม่ส่งผลเสียต่อความต้องการในอนาคตที่ทำให้เกิดการดำเนินการบนพื้นฐานของการพัฒนาอย่างองค์รวมที่ทำให้เกิดความสมดุลรอบด้าน ที่มีการคำนึงถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับสิ่งอื่นๆ ทุกมิติรอบด้านทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม ที่เป็นองค์รวมในเชิงบูรณาการ จากการพิจารณาผลเชื่อมโยงที่เกิดขึ้นอย่างหลากหลายบนความแตกต่างทางด้านเศรษฐกิจ ที่ต้องคำนึงถึงการพัฒนาตามขีดความสามารถในการแข่งขันบนพื้นฐานทรัพยากรของตนเอง ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม และต้องให้ความสำคัญกับการตอบสนองความต้องการของผู้เกี่ยวข้องอย่างสอดคล้องกับบริบททางสังคมไทยอย่างยังยืน

Article Details

บท
Articles
Author Biographies

พระใบฎีกาไพจิตร รตนญาโณ, หน่วยวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา

หน่วยวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดหงษ์ประดิษฐาราม

จังหวัดสงขลา

พระสมุห์ชนินสิทธิ์ สุทฺธิจิตฺโต, หน่วยวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา

หน่วยวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดหงษ์ประดิษฐาราม

จังหวัดสงขลา

พระมหาไพศาล วิสาโล, หน่วยวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา

หน่วยวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดหงษ์ประดิษฐาราม

จังหวัดสงขลา

กิตติพงศ์ สุวรรณวงศ์, หน่วยวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา

หน่วยวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดหงษ์ประดิษฐาราม

จังหวัดสงขลา

References

คุณากร วาณิชย์วิรุฬห์, (2550), ไขปริศนากำเนิดมนุษย์, สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยี สารสนเทศ, กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิช

พระธรรมปิฎก(ป.อ.ปยุตฺโต), (2549),การพัฒนาที่ยั่งยืน, กรุงเทพมหานคร:มูลนิธิโกมลคีมทอง.

พระธรรมปิฎก(ป.อ.ปยุตฺโต), (2543), รู้จักพระไตรปิฎก เพื่อเป็นชาวพุทธที่แท้, กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิพุทธธรรม

สันติ บางอ้อ ,การพัฒนาที่ยั่งยืน, (ออนไลน์), https://shorturl.asia/itcLO, 10 ตุลาคม 2565

แนวทางการพัฒนาสังคมและประเทศที่ยั่งยืน (ออนไลน์),

http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2003q3/article2003july1p3.htm

,สืบค้นวันที่ 22 กันยายน 2565)

สังคมไทยในยุคปัจจุบัน,(ออนไลน์), https://sites.google.com/site/sangkhmthiypaccuban/

, สืบค้นวันที่ 22 กันยายน 2565

สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. (2541). ธรรมาภิบาลเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. ในเอกสาร การสัมมนาทาง วิชาการประจำปี 2541 เรื่อง จากวิกฤติสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน. (11-13). กรุงเทพฯ : ผู้แต่ง.

สถาบันพระปกเกล้า, (ออนไลน์) http://1ab.in/eCX,สืบค้นวันที่ 22 กันยายน 2565)

ปธาน สุวรรณมงคล. (2556). การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล. กรุงเทพฯ : สถาบัน พระปกเกล้า.

ถวิลวดี บุรีกุล. (2551). การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี. ในประมวลชุดวิชาการบริหารภาครัฐ (หน่วยที่ 10). นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

รัชยา ภักดีจิตต์. (2557). ธรรมาภิบาลเพื่อการบริการภาครัฐและเอกชน. กรุงเทพฯ :

สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.ห้องสมุด Dag Hammarskjöld แห่ง สหประชาชาติ, “Our common future” UN, 1987.

SWS WCED - Our common future, 1987 - idl-bnc-idrc.dspacedirect.org, World Commission on Environment and Development [WCED].

Brundland Commission, Our common future: Report of the world commission on environment and development, Retrieved from http://www.un- documents.net/our-common- future.pdf. 1987.

The World Commission on Environment and Development. Our Common Future. New York : Oxford University Press,1987. UNESCO-ACEID. Educating for a Sustainable Future : A Trans disciplinary Vision for Concerted

Action. Report of the Third UNESCO-ACEID International Conference, Bangkok Thailand,1997,P. 6-23.

World Commission on Environment and Development, Our common future, Oxford, Great Britain:Oxford University Press, 1987, p. 43.