วิเคราะห์พระพุทธศาสนาที่มีอิทธิพลกับสังคมสมัยกรุงสุโขทัย และอยุธยา

Main Article Content

พระครูปัญญาสารบัณฑิต
พระมหาอภิสิทธิ์ วิริโย
พระครูพัชรกิตติโสภณ
พระอธิการสมพร อนาลโย
สุวิจักขณิ์ กุลยศยังกูร

บทคัดย่อ

พระพุทธศาสนามีความสำคัญกับชาวพุทธในฐานะที่เป็นสถาบันสำคัญหนึ่งของสังคม มีความสำคัญต่อประเพณีทางสังคมและวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับธรรมชาติ ในส่วนที่มีความเป็นอยู่และความต่อเนื่องของสังคม พระพุทธศาสนาทำหน้าที่เป็นพลังสร้างสรรค์บูรณาการของสังคม เป็นสถาบันที่ถ่ายทอด ปลูกฝั่งคุณธรรม และจริยธรรมทางสังคมก่อให้เกิดความรู้สึกร่วมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทางวัฒนธรรมและความรู้สึกเป็นชาติเดียวกัน นอกจากพระพุทธศาสนาจะมีอิทธิพลต่อทัศนคติและค่านิยมแล้ว ยังมีบทบาทในการกำหนดแนวทางความสัมพันธ์และการกระทำต่อกันระหว่างสมาชิกซึ่งทำหน้าที่ควบคุมพฤติกรรมในชุมชนอันดีอีกด้วย

Article Details

บท
Articles
Author Biographies

พระมหาอภิสิทธิ์ วิริโย, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

พระครูพัชรกิตติโสภณ, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

พระอธิการสมพร อนาลโย , มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

สุวิจักขณิ์ กุลยศยังกูร, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

References

กรรณิกา จรรย์แสง. ผู้แปล. (2558). บันทึกการเดินทางของอ็องรี มูโอต์. กรุงเทพฯ:

สำนักพิมพ์มติชน

กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. (2466). ตำนานคณะสงฆ์. พระนคร: โสภณพิพรรฒธนากร.

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. (2455). พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา

ภาค13. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวรเดช พิมพ์ขึ้นเป็นส่วนพระกุศลทานมัยในงานพระศพพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงวรเสฐสุดา.

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2543).พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย 45 เล่ม. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระครูศรีปัญญาวิกรม. (บุญเรือง ปญฺญาวชิโร/เจนทร). (2557). “การศึกษาเชิงวิเคราะห์ สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาในสังคมไทย”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.