ผลการใช้กิจกรรมเกมการศึกษาที่มีต่อการพัฒนาความสามารถพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3

Main Article Content

พรกนก ฟักสกุล
กาญจนา สุทธิเนียม
อารีวรรณ เอี่ยมสะอาด

บทคัดย่อ

            การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3 ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยการใช้กิจกรรมเกมการศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนโรงเรียนซางตาครู้สคอนแวนท์ ชั้นอนุบาลปีที่ 3/3 จำนวน 20 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566   ได้มาด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่ายด้วยวิธีการจับสลาก โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดประสบการณ์ และ 2) แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่า t–test


   ผลการวิจัยพบว่า ความสามารถพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3 ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยการใช้กิจกรรมเกมการศึกษา หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน  อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Article Details

บท
Research Articles
Author Biography

พรกนก ฟักสกุล, มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

กุลยา ตันติผลาชีวะ.(2551).การศึกษาสำหรับผู้ปกครองเด็กปฐมวัย. (เอกสารประกอบคำสอน). กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

เชวง ซ้อนบุญ. (2554). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบ MATH-3C เพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานทาง คณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย. ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาการศึกษาปฐมวัย. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ: กรุงเทพฯ.

ดวงเดือน ศาสตราภัทร และ พัชรี ผลโยธิน. (2555). ขอบข่ายการวัดประเมินพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจและสังคมของเด็กปฐมวัย. ใน อริศรา แก่นอ้วน (บ.ก.), แนวการศึกษาชุดวิชา หลักการและแนวคิดทางการศึกษาปฐมวัยศึกษา, (9-20). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วารสารสถาบันวิจัยญาณสังวร ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2563)

โดยตน วงศ์ราชา, 2554 ผลการใช้กิจกรรมในการพัฒนาความพร้อมทางคณิตศาสตร์ ของเด็กปฐมวัย. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

บุญชม ศรีสะอาด. (2556). วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย เล่ม 1 (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

ปณิชา มโนสิทยธากร. (2553). ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่เล่นเกมการศึกษา เน้นเศษส่วนของรูปเรขาคณิต. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชา การศึกษาปฐมวัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

เยาวพา เดชะคุปต์. (2558). การศึกษาปฐมวัย. กรุงเทพฯ: แม็ค.

วรนาท รักสกุลไทย. (2554). สุดยอดเทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบครูมืออาชีพ. กรุงเทพฯ: แฮปปี้ เลิร์นนิ่ง.

วรรณี วัจนสวัสดิ์. (2552). ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยดวยกิจกรรมเกมการศึกษาลอตโต. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต (การศึกษาปฐมวัย).

กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

รุ่งอรุณ ลียะวณิชย์. (2555). คู่มือคณิตศาสตร์ การสอนคณิตศาสตร์ ด้วยเกม. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย: กรุงเทพฯ.

สมบัติ ท้ายเรือคา. (2551). ระเบียบวิธีวิจัยสาหรับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. กาฬสินธุ์: ประสานการพิมพ์.

สุจิตรา จรรยา. (2550) การพัฒนาทักษะพื้นฐานคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ที่ได้รับการจัดประสบการณ์เกมการเล่นเชิงคณิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี: ลพบุรี.

สุวภา บุญอุไร, (2562). ผลของการใช้กิจกรรมกลางแจ้งที่มีต่อพฤติกรรมทางสังคมของเด็ก

ปฐมวัย โรงเรียนบ้านหนองเสือช้าง. วารสารสถาบันวิจัยญาณสังวร ปีที่ 11 ฉบับที่ 1

(มกราคม – มิถุนายน 2563) 24 -31