รายงานผลการจัดกิจกรรมกระบวนการกลุ่มเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2

Main Article Content

อุบล ผลจันทน์
ชาลินี มานะยิ่ง

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อเปรียบเทียบคะแนนผลการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กชั้นอนุบาลปีที่ 2/1 โรงเรียนสวนหม่อน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครราชสีมา เขต 1 ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมกระบวนการกลุ่ม


            การวิจัยครั้งนี้ คณะผู้วิจัยได้ดำเนินการทดลองโดยใช้การวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi –Experimental Design) ที่มีกลุ่มทดลองแบบกลุ่มเดียวมีการทดสอบก่อนการจัดกิจกรรมและหลังการจัดกิจกรรม ในรูปแบบที่เรียกว่า (One Group Pretest Posttest Design) ซึ่งกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คณะผู้วิจัยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง  (Purposive  Sampling) ได้กลุ่มตัวอย่างเป็น เด็กชาย – หญิง อายุระหว่าง 4-5 ปี ที่กำลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาลปีที่ 2/1 โรงเรียนสวนหม่อน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครราชสีมา เขต 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยการจัดกิจกรรมกระบวนการกลุ่มเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สำหรับเด็กชั้นอนุบาลปีที่ 2/1 จำนวน 15 แผน 2) แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จำนวน 20 ข้อ การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ ค่า t - test การเปรียบเทียบความแตกต่างด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์  ระหว่างคะแนนก่อนการจัดกิจกรรมและหลังการจัดกิจกรรม


            ผลการวิจัย พบว่า เด็กชั้นอนุบาลปีที่ 2/1 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการกลุ่ม มีคะแนนผลการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Article Details

บท
Research Articles

References

กรมวิชาการ. คู่มือการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพทางการเรียน. กรุงเทพฯ :

การศาสนา, 2562.

_______. คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 (สำหรับเด็กอายุ 3 – 5 ปี).

กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว, 2560.

_______. คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 (สำหรับเด็กอายุ 3 – 5 ปี).

กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว, 2560.

_______. หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว, 2560.

กุลยา ตันติผลาชีวะ. บทบาทหน้าที่ของอาจารย์นิเทศ. กรุงเทพฯ, 2563.

_______. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ : เอดิสันเพรสโปรดักส์,

_______. การสอนจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ : เอดิสัน เพรสโปรดักส์, 2563.

กัญญณัฐ พลอยกระจ่าง. การศึกษาพฤติกรรมความร่วมมือของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัด

กิจกรรมการปั้นแบบกลุ่ม. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การศึกษาปฐมวัย). กรุงเทพฯ :

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2562.

จิตเกษม ทองนาค. การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้ใช้

กิจกรรมการเรียนการสอนแบบจิตปัญญา.ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ :

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2563.

ชุลีพร สงวนศรี. เอกสารประกอบการสอน วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ :

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต, 2561.

ณัฐชุดา สาครเจริญ. การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยใช้

รูปแบบการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้.ปริญญานิพนธ์ กศ.ม.

กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2561.

ณัฐนันท์ คัมภีร์ภัทร. เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย.

กรุงเทพฯ : ภาควิชาการศึกษาปฐมวัย สถาบันราชภัฏสวนดุสิต, 2560.

นภเนตร ธรรมบวร. การประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ :

สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์, 2560.

บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน์, 2560.

_______. การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น, 2560.

บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. รวมบทความการวิจัย การวัดผลและประเมินผล. พิมพครั้งที่ 2.

กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหิดล, 2561.

ปทีป เมธาคุณวุฒิ. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารสถาบันอุดมศึกษา. กรุง เทพฯ :

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560.

ประสาท เนืองเฉลิม. “ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ปฐมวัยศึกษา” วารสารการศึกษา

ปฐมวัย. 6(4): 24-25. (2563, ตุลาคม).

_______. ของเล่นกับเรียนรู้วิทยาศาสตร์. วารสารวิชาการ. 6(3); 70-72.(มีนาคม), 2563

พงษ์เทพ บุญศรีไพโรจน์. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม. สสวท, 2560.

พวงรัตน์ ทวีรัตน์. วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ :

สำนักงานทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ประสานมิตร, 2560.

พิทักษ์ชาติ สุวรรณไตรย์. แผนการจัดประสบการณ์การศึกษา. กรุงเทพฯ, 2562.

พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์. พฤติกรรมการสอนวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาคุณภาพ

วิชาการ, 2562.

ยุพา วีระไวทยะ และปรีชา นพคุณ. การสอนวิทยาศาสตร์แบบมืออาชีพ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิ

สดศรีสฤษดิ์วงศ์, 2562.

รุจิระ สุภรณ์ไพบูลย์. “การส่งเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์,” ใน เทคนิคและวิธีการ

สอนในระดับประถมศึกษา. หน้า 62 - 65. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : แห่ง

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561.

ลดาวรรณ ดีสม. การพัฒนาทักษะพื้นฐานวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมการเรียน

แบบต่อภาพ. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ประสานมิตร, 2560.

ล้วน สายยศ. “มิติสัมพันธ์สำคัญไฉน”. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์. 1(2) : 22 – 24, 2560.

ลำดวล ปั่นสันเทียะ. ผลการจัดประสบการณ์แบบโครงการที่มีต่อทักษะกระบวนการ

วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การศึกษาปฐมวัย).

กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2562.

วิโรจน์ ตันตราภรณ์. “วิทยาศาสตร์รากฐาน”, การศึกษาวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ และ

เทคโนโลยี. 31(121) : 3 ; พฤศจิกายน- ธันวาคม, 2560.

สถิตย์ ศรีถาวร. การพัฒนาชุดการสอนหน่วยวิทยาศาสตร์น่ารู้ ชั้นอนุบาลปีที่ 1.

รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2560.

สมนึก ภัททิยธนี. การวัดผลการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 5. กาฬสินธุ์ : ประสานการพิมพ์, 2562.

สรศักดิ์ แพรดำ. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์. อุบลราชธานี. สถาบันราชภัฏ

อุบลราชธานี, 2561.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. คู่มือการวางแผนงบประมาณ จากแนวคิดสู่

แนวปฏิบัติระดับสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : การศาสนา, 2560.

_______. คู่มือการอบรมเลี้ยงดูเด็กระดับก่อนประถมศึกษาในประเทศไทย. กรุงเทพฯ :

โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2560.

สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์. การวัดและประเมินแนวใหม่ : เด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ :

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2562.

สุนีย์ เหมะประสิทธิ์. เอกสารคำสอน ปถ. 421 วิทยาศาสตร์สำหรับครูประถมศึกษา. กรุงเทพฯ

: ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ประสานมิตร, 2563.

สุวิทย์ มูลคำ และอรทัย มูลคำ. 19 วิธีจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ. พิมพ์ครั้งที่ 2.

กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ์, 2565.

เสริมเกียรติ พรหมผุย. พัฒนาการและพฤติกรรมวัยเด็ก. มหาสารคาม : ภาควิชาจิตวิทยา

การศึกษาและการแนะแนว มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2562.

เอราวรรณ ศรีจักร. การพัฒนาทักษะกระบวนการทางงวิทยาศาตร์โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้

ประกอบชุดฝึกทักษะ. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทร

วิโรฒ ประสานมิตร, 2560

Anderson , E . “Motivational and Cognitive Influences on Conceptual Knowledge :

The Combination of Science Observation and Interesting Texts”

Dissertation Abstract, 2020.

Fox, Jill E. The Role of Drawing in Kindergarteners’ Science for Yong Children

International Art in Early Childhood. Research Jounal. 2(1), 2010.

Folkman, Deniel Vance. “APath Less Traveled : A Self-guided Action Science

Inquiry Among a Small Group of Ault Learners”, Dissertation Abstracts

International. 61(02) : 456-A ; August, 2021.

Hamlin, Maria; & Wisnesky, Debora B. Supporting the Sientific Thinking and

Inqury of Toddlers and Preschoolers through play. Yong Children.

(3). 82-88, 2021.

Martin,D .J. Constructing Early Childhood Science. New York : A Division of

Thomson.Learning, lnc., 2019.